ตอนที่1 ประวัติย่อบัฟเฟต์
วอร์เรน บัฟเฟตต์ จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอร์เรน เอดเวิร์ด บัฟเฟตต์ (Warren Edward Buffett)
(เกิด 30 สิงหาคม ค.ศ. 1930 นักลงทุนชาวอเมริกา
เจ้าของบริษัท Berkshire Hathaway
และเศรษฐีอันดับ 2 ของโลก รองจากบิลล์ เกตส์
วอร์เรน บัฟเฟตต์ เกิดที่เมืองโอแมฮา ในรัฐเนแบรสกา
ได้ซื้อหุ้นครั้งแรกเมื่ออายุ 11 ปี
เข้าเรียนระดับมหาวิทยาลัยที่ วอร์ตัน
มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและได้ย้ายไปเรียน
และจบการศึกษาที่มหาวิทยาลัยเนแบรสกา
หลังจากนั้นได้ศึกษาต่อระดับปริญญาโทสาขาเศรษฐศาสตร์
ที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ในปี 1951
————————————————————————
วอร์เรน บัฟเฟตต์ จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วอร์เรน เอดเวิร์ด บัฟเฟตต์ (Warren Edward Buffett)
(เกิด 30 สิงหาคม ค.ศ. 1930 นักลงทุนชาวอเมริกา
เจ้าของบริษัท Berkshire Hathaway
และเศรษฐีอันดับ 2 ของโลก รองจากบิลล์ เกตส์
วอร์เรน บัฟเฟตต์ เกิดที่เมืองโอแมฮา ในรัฐเนแบรสกา
ได้ซื้อหุ้นครั้งแรกเมื่ออายุ 11 ปี
เข้าเรียนระดับมหาวิทยาลัยที่ วอร์ตัน
มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียและได้ย้ายไปเรียน
และจบการศึกษาที่มหาวิทยาลัยเนแบรสกา
หลังจากนั้นได้ศึกษาต่อระดับปริญญาโทสาขาเศรษฐศาสตร์
ที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ในปี 1951
————————————————————————
***** เพิ่มเติมโดย www.holidaytours.in.th *****
วอร์เรน บัฟเฟตต์นักลงทุนหมายเลขหนึ่งของโลก
เป็นนักลงทุนเน้นคุณค่า มีความอดทนทางด้านจิตใจสูง
บัฟเฟตต์เป็นลูกศิษย์ของเบนจามิน เกรแฮม
เจ้าของทฤษฎี Margin of Safety
ซึ่งบัฟเฟต์ได้พัฒนาตัวเอง
สามารถสร้างผลตอบแทนได้มากกว่าอาจารย์
โดยเพิ่มการใช้ทฤษฏีดอกเบี้ยทบต้น
สร้างความมั่งคั่งให้กับตนและผู้ที่เข้าลงทุนด้วย
บัฟเฟตต์จะใช้ประโยชน์จากนายตลาด
ซื้อหุ้นในขณะที่คนอื่น ๆ เทขาย
แต่จะซื้อเฉพาะหุ้นที่มีคุณภาพเท่านั้น
ในขณะที่นักลงทุนทั่วไปมักจะทำตามนายตลาด
และซื้อหุ้นที่เป็นที่นิยมของคนทั่วไป
และเป็นเจ้าของคำพูด
“หัวใจหลักของการลงทุนอยู่ที่
ความได้เปรียบเชิงแข่งขันของธุรกิจ
และความยั่งยืนของความได้เปรียบนั้น”
วอร์เรน บัฟเฟตต์นักลงทุนหมายเลขหนึ่งของโลก
เป็นนักลงทุนเน้นคุณค่า มีความอดทนทางด้านจิตใจสูง
บัฟเฟตต์เป็นลูกศิษย์ของเบนจามิน เกรแฮม
เจ้าของทฤษฎี Margin of Safety
ซึ่งบัฟเฟต์ได้พัฒนาตัวเอง
สามารถสร้างผลตอบแทนได้มากกว่าอาจารย์
โดยเพิ่มการใช้ทฤษฏีดอกเบี้ยทบต้น
สร้างความมั่งคั่งให้กับตนและผู้ที่เข้าลงทุนด้วย
บัฟเฟตต์จะใช้ประโยชน์จากนายตลาด
ซื้อหุ้นในขณะที่คนอื่น ๆ เทขาย
แต่จะซื้อเฉพาะหุ้นที่มีคุณภาพเท่านั้น
ในขณะที่นักลงทุนทั่วไปมักจะทำตามนายตลาด
และซื้อหุ้นที่เป็นที่นิยมของคนทั่วไป
และเป็นเจ้าของคำพูด
“หัวใจหลักของการลงทุนอยู่ที่
ความได้เปรียบเชิงแข่งขันของธุรกิจ
และความยั่งยืนของความได้เปรียบนั้น”
ขณะที่วอร์เรน บัฟเฟตต์ จากคนธรรมดา สู่นักลงทุนระดับโลกนั้น
มีผลตอบแทน จากการลงทุนทบต้นเพียงปีละ 24% เท่านั้น
ซึ่งถือว่าไม่มากนัก
ถ้าเทียบกับ ผลตอบแทนของนักลงทุนแบบเน้นคุณค่าได้รับในปีนี้
แต่บัฟเฟตต์สามารถทำผลตอบแทนในระดับดังกล่าว
ได้อย่างยาวนานต่อเนื่องเป็นเวลาหลายสิบปี
ซึ่งด้วยยุทธวิธีดังกล่าว
ทำให้เขารวยได้เป็นอันดับสองของโลก
ถ้านักลงทุนสามารถทำผลตอบแทนจากการลงทุนได้ปีละ 100% ทุกปี
จากเงินลงทุนเริ่มต้นที่ 1 ล้านบาท เงินดังกล่าวจะกลายเป็น 1,000 ล้านบาทใน 10 ปี
และภายในเวลา 20 ปี จะกลายเป็นเงิน 1 ล้านล้านบาท
(ซึ่งเท่ากับงบประมาณประเทศไทยทั้งประเทศ)
จะเห็นว่า การทำผลตอบแทนสูงๆ นั้นในระยะยาวแล้ว
มีโอกาสเป็นไปได้ไม่ง่ายนัก
ดังนั้น นักลงทุนที่ทำผลตอบแทนได้ปีละ 15-25%
ก็ไม่ต้องไปวิตกกังวลมากนัก
เพียงแต่ท่านสามารถทำผลตอบแทนดังกล่าวได้อย่างต่อเนื่อง ก็ ”เพียงพอ”
ที่จะทำให้พอร์ตการลงทุนของท่านเติบโตอย่างเห็นผลได้ในระยะยาว
************************************************************
จาก settrade.com โดยคุณงงงง
http://api.settrade.com/actions/customization/IPO/newWebboar
d/board.jsp?content=qa.jsp&tid=3771&page=1
มหัศจรรย์ดอกเบี้ยทบต้น
เห็นมีคนถามหา พอดีไปเจอมาเลยเอามาให้อ่านกัน
แล้วก็ถึงคราวพระเอกของเหล่าบรรดาคนออมเงินทั้งหลายแล้วครับ
ซึ่งก็คือดอกเบี้ยนั่นเอง และคงจะไม่มีใคร ไม่รู้จักใช่มั๊ยครับ
แต่ถ้าจะพูดถึงดอกเบี้ยธรรมดาทั่วๆไป ใครจะสนใจหละครับ
มันธรรมดาเกินไป ที่ผมจะพูดถึง นี่หลายคนคงรู้สรรพคุณนี้ดี
แต่ผมเชื่อว่าหลายคนอาจไม่รู้เลยหละครับ
เพียงแค่สนใจตัวเลขของดอกเบี้ยก็เพียงพอแล้ว
แต่ว่าจริงๆแล้วดอกเบี้ยมีความมหัศจรรย์ในตัวเองครับ
ถ้าเรารู้จักนำมาใช้ มีคนเคยบอกว่าสิ่งมหัศจรรย์ของตัวเลขก็คือ
ดอกเบี้ยทบต้นนี่หละครับ เชื่อหรือไม่ว่า
เพียงแค่เงินเก็บของคุณสร้างดอกเบี้ย
แล้วคุณนำดอกเบี้ยไปสร้างดอกเบี้ยต่อ เพียงแค่ 5 ปี
เงินของคุณก็จะเพิ่มขึ้นเท่าตัว ที่ดอกเบี้ย 15 % ต่อปี
จึงไม่ต้องสงสัยเลยว่า ทำไมเวลาเป็นหนี้เพียงน้อยนิด
แต่คล้อยหลังไปไม่กี่ปีมันเพิ่มขึ้นหลาย เท่าตัว
**************************************************
มีผลตอบแทน จากการลงทุนทบต้นเพียงปีละ 24% เท่านั้น
ซึ่งถือว่าไม่มากนัก
ถ้าเทียบกับ ผลตอบแทนของนักลงทุนแบบเน้นคุณค่าได้รับในปีนี้
แต่บัฟเฟตต์สามารถทำผลตอบแทนในระดับดังกล่าว
ได้อย่างยาวนานต่อเนื่องเป็นเวลาหลายสิบปี
ซึ่งด้วยยุทธวิธีดังกล่าว
ทำให้เขารวยได้เป็นอันดับสองของโลก
ถ้านักลงทุนสามารถทำผลตอบแทนจากการลงทุนได้ปีละ 100% ทุกปี
จากเงินลงทุนเริ่มต้นที่ 1 ล้านบาท เงินดังกล่าวจะกลายเป็น 1,000 ล้านบาทใน 10 ปี
และภายในเวลา 20 ปี จะกลายเป็นเงิน 1 ล้านล้านบาท
(ซึ่งเท่ากับงบประมาณประเทศไทยทั้งประเทศ)
จะเห็นว่า การทำผลตอบแทนสูงๆ นั้นในระยะยาวแล้ว
มีโอกาสเป็นไปได้ไม่ง่ายนัก
ดังนั้น นักลงทุนที่ทำผลตอบแทนได้ปีละ 15-25%
ก็ไม่ต้องไปวิตกกังวลมากนัก
เพียงแต่ท่านสามารถทำผลตอบแทนดังกล่าวได้อย่างต่อเนื่อง ก็ ”เพียงพอ”
ที่จะทำให้พอร์ตการลงทุนของท่านเติบโตอย่างเห็นผลได้ในระยะยาว
************************************************************
จาก settrade.com โดยคุณงงงง
http://api.settrade.com/actions/customization/IPO/newWebboar
d/board.jsp?content=qa.jsp&tid=3771&page=1
มหัศจรรย์ดอกเบี้ยทบต้น
เห็นมีคนถามหา พอดีไปเจอมาเลยเอามาให้อ่านกัน
แล้วก็ถึงคราวพระเอกของเหล่าบรรดาคนออมเงินทั้งหลายแล้วครับ
ซึ่งก็คือดอกเบี้ยนั่นเอง และคงจะไม่มีใคร ไม่รู้จักใช่มั๊ยครับ
แต่ถ้าจะพูดถึงดอกเบี้ยธรรมดาทั่วๆไป ใครจะสนใจหละครับ
มันธรรมดาเกินไป ที่ผมจะพูดถึง นี่หลายคนคงรู้สรรพคุณนี้ดี
แต่ผมเชื่อว่าหลายคนอาจไม่รู้เลยหละครับ
เพียงแค่สนใจตัวเลขของดอกเบี้ยก็เพียงพอแล้ว
แต่ว่าจริงๆแล้วดอกเบี้ยมีความมหัศจรรย์ในตัวเองครับ
ถ้าเรารู้จักนำมาใช้ มีคนเคยบอกว่าสิ่งมหัศจรรย์ของตัวเลขก็คือ
ดอกเบี้ยทบต้นนี่หละครับ เชื่อหรือไม่ว่า
เพียงแค่เงินเก็บของคุณสร้างดอกเบี้ย
แล้วคุณนำดอกเบี้ยไปสร้างดอกเบี้ยต่อ เพียงแค่ 5 ปี
เงินของคุณก็จะเพิ่มขึ้นเท่าตัว ที่ดอกเบี้ย 15 % ต่อปี
จึงไม่ต้องสงสัยเลยว่า ทำไมเวลาเป็นหนี้เพียงน้อยนิด
แต่คล้อยหลังไปไม่กี่ปีมันเพิ่มขึ้นหลาย เท่าตัว
**************************************************
เพิ่มเติมโดย www.holidaytours.in.th
อัตราดอกเบี้ยทบต้น
At = A0 x (1+rate) ^ n
At = ยอดเงินรวม
A0 = เงินต้นที่ฝาก
rate = อัตราดอกเบี้ย(มักจะอยู่ในรูป เปอร์เซ็นต์ต่อปี)
^ = ยกกำลัง
n = จำนวนปีที่ฝาก
ถ้าคุณมีเงิน 20,000 การลงทุนให้ผลตอบแทนทบต้น 10% ต่อปี
เป็นเวลา 30ปี จะเป็นเงิน
At = 20000*(1+0.10)^30
At = 348,988
สรุปได้ว่าสิ่งมหัศจรรย์ ที่จะทำให้เราได้พบอิสรภาพทางการเงินได้
นั่นก็คือดอกเบี้ยทบต้น
อัตราดอกเบี้ยทบต้น
At = A0 x (1+rate) ^ n
At = ยอดเงินรวม
A0 = เงินต้นที่ฝาก
rate = อัตราดอกเบี้ย(มักจะอยู่ในรูป เปอร์เซ็นต์ต่อปี)
^ = ยกกำลัง
n = จำนวนปีที่ฝาก
ถ้าคุณมีเงิน 20,000 การลงทุนให้ผลตอบแทนทบต้น 10% ต่อปี
เป็นเวลา 30ปี จะเป็นเงิน
At = 20000*(1+0.10)^30
At = 348,988
สรุปได้ว่าสิ่งมหัศจรรย์ ที่จะทำให้เราได้พบอิสรภาพทางการเงินได้
นั่นก็คือดอกเบี้ยทบต้น
ตอนที่3 การลงทุนตอน 6 ขวบ
ว่ากันว่าบัฟเฟตต์นั้นมีหัวด้านการลงทุนตั้งแต่ยังเล็ก
อย่างเมื่อตอนอายุเพียง 6 ขวบ
เขาได้ซื้อโค้กกระป๋องมาขายและ
ทำกำไรในการขายได้ประมาณ 20% จากยอดรวมทั้งหมด
โดยเขาได้เปรียบการลงทุนของตนเองไว้ว่า
เหมือนสิงโตที่รอตะครุบเหยื่อในพงหญ้าสูงและ
จะเข้าจู่โจมเมื่อถึงเวลาที่เหยื่อเข้ามาใกล้ (A lion in the tall grass)
ซึ่งเขาจะรอจนกว่าราคาหุ้นที่ต้อง
การเดินทางมาอยู่ในจุดที่น่าสนใจที่สุดเพื่อเข้าครอบครอง
และสิ่งสำคัญที่ทำให้เขาประสบ
ความสำเร็จจากการลงทุนนั้นคือ
ไม่ใช้อารมณ์ในการลงทุน
แต่ใช้ความรู้และประสบการณ์ใน
การตัดสินใจแต่ละครั้ง
****************************************************
ว่ากันว่าบัฟเฟตต์นั้นมีหัวด้านการลงทุนตั้งแต่ยังเล็ก
อย่างเมื่อตอนอายุเพียง 6 ขวบ
เขาได้ซื้อโค้กกระป๋องมาขายและ
ทำกำไรในการขายได้ประมาณ 20% จากยอดรวมทั้งหมด
โดยเขาได้เปรียบการลงทุนของตนเองไว้ว่า
เหมือนสิงโตที่รอตะครุบเหยื่อในพงหญ้าสูงและ
จะเข้าจู่โจมเมื่อถึงเวลาที่เหยื่อเข้ามาใกล้ (A lion in the tall grass)
ซึ่งเขาจะรอจนกว่าราคาหุ้นที่ต้อง
การเดินทางมาอยู่ในจุดที่น่าสนใจที่สุดเพื่อเข้าครอบครอง
และสิ่งสำคัญที่ทำให้เขาประสบ
ความสำเร็จจากการลงทุนนั้นคือ
ไม่ใช้อารมณ์ในการลงทุน
แต่ใช้ความรู้และประสบการณ์ใน
การตัดสินใจแต่ละครั้ง
****************************************************
เพิ่มเติมโดย www.holidaytours.in.th
บทเรียนแรกจากการซื้อหุ้น
เมื่อบัฟเฟตต์ซื้อหุ้นตัวแรก ราคาของมันกลับดิ่งลง
แต่เขาอดทนก็ถือมันไว้ ต่อมาเมื่อราคาขึ้นมาอีกครั้ง
เมื่อเขาได้กำไรจึงขายมันออกไป
แต่ราคาหุ้นกลับวิ่งขึ้นไปไม่หยุด เขาจึงได้บทเรียนว่า
การขายหุ้นดีออกไปเร็วเกินไป ถือเป็นความผิดพลาด
หลังจากนั้นในเวลาต่อมาเขาได้พัฒนาการลงทุน
โดยใช้แนวคิด ซื้อกิจการที่ดีที่สุด ในราคายุติธรรม
และเก็บเอาไว้ไม่โดยขายเลยตลอดชีวิต
ได้พบอาจารย์ แต่อาจารย์กลับไม่ยอมรับ
เมื่อบัฟเฟตต์ได้พบเบนจามิน เกรแฮม
เจ้าของทฤษฎี Margin of Safety
เขารู้สึกเหมือนเบนจามิน เกรแฮม ได้นำผ้าผูกตาออกจากตาเขา
เขาขอทำงานกับเบนจามิน เกรแฮม แต่ถูกปฏิเสธ
แม้ว่าเขาจะทำงานให้ฟรีก็ตาม แต่เบนจามิน เกรแฮมกลับพูดว่า
ราคานี้ก็ยังแพงเกินไป
แต่บัฟเฟตต์ก็ไม่ละความพยายาม
จนเบนจามิน เกรแฮม ยอมรับเขาในที่สุด…
บทเรียนแรกจากการซื้อหุ้น
เมื่อบัฟเฟตต์ซื้อหุ้นตัวแรก ราคาของมันกลับดิ่งลง
แต่เขาอดทนก็ถือมันไว้ ต่อมาเมื่อราคาขึ้นมาอีกครั้ง
เมื่อเขาได้กำไรจึงขายมันออกไป
แต่ราคาหุ้นกลับวิ่งขึ้นไปไม่หยุด เขาจึงได้บทเรียนว่า
การขายหุ้นดีออกไปเร็วเกินไป ถือเป็นความผิดพลาด
หลังจากนั้นในเวลาต่อมาเขาได้พัฒนาการลงทุน
โดยใช้แนวคิด ซื้อกิจการที่ดีที่สุด ในราคายุติธรรม
และเก็บเอาไว้ไม่โดยขายเลยตลอดชีวิต
ได้พบอาจารย์ แต่อาจารย์กลับไม่ยอมรับ
เมื่อบัฟเฟตต์ได้พบเบนจามิน เกรแฮม
เจ้าของทฤษฎี Margin of Safety
เขารู้สึกเหมือนเบนจามิน เกรแฮม ได้นำผ้าผูกตาออกจากตาเขา
เขาขอทำงานกับเบนจามิน เกรแฮม แต่ถูกปฏิเสธ
แม้ว่าเขาจะทำงานให้ฟรีก็ตาม แต่เบนจามิน เกรแฮมกลับพูดว่า
ราคานี้ก็ยังแพงเกินไป
แต่บัฟเฟตต์ก็ไม่ละความพยายาม
จนเบนจามิน เกรแฮม ยอมรับเขาในที่สุด…
ตอนที่4 ความผิดพลาด 25ปีแรก
เรื่องย่อโดย www.holidaytours.in.th
ที่เบอร์กไชร์ฮาธาเวย์
ช่วงแรกของการลงทุนของบัฟเฟตต์
เขาจะซื้อหุ้นที่ราคาถูกมาก ๆ
แต่ผลประกอบการระยะยาวของบริษัทนั้นไม่ดีนัก
โดยไม่ได้เลือกบริษัทที่มีความได้เปรียบเชิงแข่งขัน
และมีความยั่งยืนของความได้เปรียบนั้น
และเขาเริ่มตระหนัก ว่านี่ไม่ใช่กลยุทธ์ในฝัน
ต่อมาเขาจึงเลิกลงการลงทุนรูปแบบนี้
เพราะมันเหมือนกับการหาคนที่โง่กว่ามาซื้อหุ้นต่อ
และมันจะเกิดอะไรขึ้น ถ้าหากไม่มีคนที่โง่กว่ามาซื้อหุ้นไป….
————————————————————
เรื่องย่อโดย www.holidaytours.in.th
ที่เบอร์กไชร์ฮาธาเวย์
ช่วงแรกของการลงทุนของบัฟเฟตต์
เขาจะซื้อหุ้นที่ราคาถูกมาก ๆ
แต่ผลประกอบการระยะยาวของบริษัทนั้นไม่ดีนัก
โดยไม่ได้เลือกบริษัทที่มีความได้เปรียบเชิงแข่งขัน
และมีความยั่งยืนของความได้เปรียบนั้น
และเขาเริ่มตระหนัก ว่านี่ไม่ใช่กลยุทธ์ในฝัน
ต่อมาเขาจึงเลิกลงการลงทุนรูปแบบนี้
เพราะมันเหมือนกับการหาคนที่โง่กว่ามาซื้อหุ้นต่อ
และมันจะเกิดอะไรขึ้น ถ้าหากไม่มีคนที่โง่กว่ามาซื้อหุ้นไป….
————————————————————
รายละเอียด
————————————————————
ความผิดพลาด25ปีแรกของ วอเร็น บัฟเฟตต์
ข้อความต่อไปนี้ปรากฎอยู่ในรายงานประจำปี 2532
ของเบอร์กไชร์ฮาธาเวย์
บริษัทที่วอเร็น บัฟเฟตต์ ใช้ในการลงทุนถือหุ้นของเขา
สิ่งที่บัฟเฟตต์เขียนถือเป็นหลักสำคัญในวิธีคิดและ
หลักการลงทุนบางส่วนที่สำคัญมากของเขาในปัจจุบัน
ความผิดพลาดข้อแรกของผม
แน่นอนคือการซื้อหุ้นส่วนใหญ่ของเบอร์กไชร์
ถึงแม้ว่าผมจะรู้ว่าธุรกิจของมัน การผลิตสิ่งทอ
เป็นสิ่งที่ไม่ค่อยมีอนาคต
แต่ผมก็ถูกล่อให้ซื้อเพราะราคาที่ดูเหมือนว่าจะถูกมาก
การซื้อหุ้นแบบนั้นได้สร้างผลตอบแทนให้ผมไม่เลว
ในช่วงที่ผมเริ่มลงทุนใหม่ ๆ
อย่างไรก็ตามเมื่อเราได้เบอร์กไชร์มาในปี 2508
ผมก็เริ่มตระหนักว่านี่ไม่ใช่กลยุทธ์ในฝัน
ถ้าคุณซื้อหุ้นในราคาที่ถูกพอ
โดยปกติก็จะมีช่วงเวลาหนึ่งที่ผลกำไรของธุรกิจ
จะกระตุกหรือดีดตัวขึ้นซึ่ง
จะเปิดโอกาสให้คุณขายหุ้นทิ้งและได้กำไรพอสมควร
ถึงแม้ว่าผลการดำเนินงานในระยะยาวของธุรกิจจะแย่มาก
ผมเรียกแนวการลงทุนแบบนี้ว่า ก้นบุหรี่
นั่นคือก้นบุหรี่ที่พบบนถนนที่เหลือพอสูบได้
เพียงคำเดียวนั้นอาจจะให้ความสุขในการสูบได้ไม่มาก
แต่ราคาซื้อที่ถูกมาก”
จะทำให้การสูบมีกำไร
บัฟเฟตต์ พูดอีกหลายประเด็นเกี่ยวกับข้อผิดพลาดในการซื้อหุ้น
โดยมองที่ความถูกเป็นหลักและเขาสรุปว่า
ผมสามารถยกตัวอย่างความโง่เขลาของการซื้อหุ้นถูก อื่น ๆ อีก
แต่ผมแน่ใจว่าคุณจะเห็นภาพนั่นคือ มันเป็นเรื่องที่ดีกว่ามาก
ที่จะซื้อบริษัทที่ดีเลิศในราคาที่ยุติธรรม
แทนที่จะซื้อบริษัทที่ดีพอใช้ในราคาที่ดีเยี่ยม
ผมเป็นคนที่เรียนรู้ช้า แต่เดี๋ยวนี้ เมื่อจะซื้อบริษัทหรือหุ้น
เรามองหาธุรกิจชั้นหนึ่ง
ที่มาพร้อมกับผู้บริหารชั้นหนึ่ง
ผมได้พูดมาหลายครั้งว่า
เมื่อผู้จัดการที่มีชื่อเสียงสุดยอดในการบริหารธุรกิจ
มาเจอกับธุรกิจที่มีชื่อเสียงสุด แย่ในด้านของการทำกำไร
สิ่งที่เหลืออยู่ก็คือ
ชื่อเสียงของธุรกิจ
บทเรียนต่อมาที่บัฟเฟตต์พูดถึงก็คือ หลังจาก 25
ปีของการซื้อและดูแลธุรกิจที่หลากหลาย
ผมไม่เคยเรียนรู้ที่จะแก้ปัญหายาก ๆ ของธุรกิจเลย
สิ่งที่เราเรียนรู้ก็คือการหลีกมัน
การที่เราประสบความสำเร็จนั้นเป็นเพราะเรามุ่งเน้นที่การมองหารั้วที่สูง 1 ฟุต
สามารถก้าวข้ามไปได้มากกว่าที่เราจะสร้างความสามารถในการที่
จะกระโดดข้ามรั้วสูง 7 ฟุต
การค้นพบนี้ดูเหมือนว่าจะไม่ยุติธรรม
แต่ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของธุรกิจและการลงทุน
มันเป็นเรื่องที่สามารถทำ
กำไรได้มากกว่ามากที่จะเพียงยึดอยู่กับสิ่งที่ง่ายและ
เห็นได้ชัดมากกว่าที่จะวิเคราะห์หรือตัดสินใจในสิ่งที่ยาก…
ในอีกกรณีหนึ่ง
โอกาสการลงทุนที่ยิ่งใหญ่จะเกิดขึ้นเมื่อธุรกิจที่ดีเยี่ยมประสบกับ
ปัญหาที่ยิ่งใหญ่ที่เกิดครั้งเดียว
แต่แก้ไขได้อย่างเช่นในกรณีที่เกิดมาแล้วหลายปีของหุ้นอเมริกัน
เอ็กซ์เพรสและ GEICO
อย่างไรก็ตามโดยรวมแล้ว
เราทำได้ดีกว่าโดยการหลีกเลี่ยงมังกรแทนที่จะฆ่ามัน
การค้นพบที่น่าประหลาดใจที่สุดของผมซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญมากใน
ธุรกิจก็คือพลังแฝง ที่เราอาจจะเรียกว่า
“สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ของสถาบัน”…….ยกตัวอย่างเช่น…….
2) เช่นเดียวกับที่งานถูกขยายออกไปเมื่อมีเวลาเหลือ
โครงการลงทุนและการซื้อกิจการต่าง ๆ
ก็เกิดขึ้นเพื่อที่จะใช้เงินของบริษัทให้หมด
3) ธุรกิจที่ผู้นำปรารถนาที่จะทำ ไม่ว่าจะโง่เขลาเพียงใด
จะได้รับการสนับสนุนอย่างรวดเร็วโดยตัวเลข
ผลตอบแทนการลงทุนและยุทธศาสตร์ที่เตรียมโดยลูกน้องของเขา
4) พฤติกรรมของบริษัทคู่แข่งในกลุ่มเดียวกัน ไม่ว่าเขาจะขยายงาน
ซื้อกิจการ ตั้งและจ่ายผลตอบแทน
ให้แก่ผู้บริหาร หรืออะไรก็ตาม
จะถูกเลียนแบบโดยไม่คิดถึงความเหมาะสม.
หลังจากความผิดพลาดอื่น ๆ
ผมเรียนรู้ที่จะทำธุรกิจเฉพาะกับคนที่ผมชอบ เชื่อใจ และยกย่อง
ตรงกันข้ามเราไม่ประสงค์ที่ร่วมกับผู้จัดการซึ่งขาดคุณสมบัติที
่น่าชมเชยไม่ว่าธุรกิจของเขาจะมีแนวโน้ม
น่าสนใจแค่ไหน เราไม่เคยประสบความสำเร็จในการซื้อธุรกิจดี ๆ
กับคนที่ไม่ดี
ความผิดพลาดที่ร้ายแรงที่สุดบางอย่างของผมไม่ได้เปิดเผยต่อสาธา
รณชน นั่นคือหุ้นหรือธุรกิจซึ่งผมรู้จัก
คุณค่าของมันดีแต่กลับไม่ได้ซื้อ
ไม่ใช่เรื่องบาปที่คนจะพลาดโอกาสการลงทุนที่ยิ่งใหญ่ที่อยู่
นอกเหนือความรู้ หรือความเข้าใจของเขา
แต่ผมได้ปล่อยธุรกิจที่ยิ่งใหญ่หลายรายที่เสิร์ปมาให้ถึงที่และ
เป็นธุรกิจที่ผมสามารถ
เข้าใจได้อย่างเต็มที่ให้หลุดไป สำหรับผู้ถือหุ้นของเบอร์กไชร์
รวมถึงตัวผมเอง บทเรียนนี้ราคาแพงมาก
นโยบายการเงินที่อนุรักษ์นิยมสุดยอดของเราอาจจะดูเหมือนว่าเป็น
ความผิดพลาดแต่ผมคิดว่าไม่
มองย้อนกลับไปถ้าเรากู้เงินมาลงทุนในระดับปกติของธุรกิจ
ผลตอบแทนการลงทุนของเราคงจะดีกว่า
เฉลี่ยปีละ 23.8% ที่เราได้มา แม้ในปี 2508
บางทีเราสามารถที่จะตัดสินว่ามีโอกาสถึง 99% ที่การกู้เพิ่ม
จะทำให้ผลกำไรสูงขึ้น ในเวลาเดียวกันเราอาจจะเห็นว่ามีโอกาสเพียง
1% ที่จะเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน
ซึ่งอาจทำให้เราเสียหายหรือถึงล้มละลาย
เราไม่ชอบโอกาส 99:1 นั้นและจะไม่ชอบตลอดไป
โอกาสเล็กน้อยของการเสียหายหรือเสียหายหนัก
ในมุมมองของเราจะไม่คุ้มกับโอกาสมากมายที่จะได้ผลตอบแทนเพิ่มขึ้น
ถ้าการกระทำของคุณมีเหตุผลคุณ
ก็แน่นอนว่าจะได้ผลลัพธ์ที่ดีอยู่แล้ว
ในกรณีส่วนมากการกู้ก็เพียงแต่ทำให้สิ่งต่าง ๆ เคลื่อนเร็วขึ้น…
ผมไม่เคยรีบมาก : เรามีความสุขกับการลงทุนมากกว่าผลตอบแทนที่ได้
– แม้ว่าเราจะได้เรียนรู้ที่จะอยู่กับมันทั้งคู่
เราหวังว่าในอีก 25 ปีต่อไปที่เราจะรายงานความผิดพลาดใน 50 ปีแรก
ถ้าเรายังคงอยู่ในปี 2558 ที่จะทำอย่างนั้น
คุณเชื่อได้เลยว่าส่วนนี้จะกินพื้นที่กระดาษมากกว่านี้มาก”
Value Investor
ของไทยเรายังมีบทเรียนหรือความผิดพลาดน้อยเมื่อคิดถึงระยะเวลาที่ความคิดและ
แนวทางการลงทุนแบบ Value Investment
ที่เพิ่งก่อร่างขึ้นมาเพียงไม่ถึง 10 ปี แต่โชคดีที่เรามีเซียน
อย่างวอเร็น บัฟเฟตต์ที่ผ่านประสบการณ์มายาวนาน และ
เล่าเรื่องที่เกิดขึ้นให้ฟัง
ตลาดอเมริกันกับไทยอาจจะแตกต่างกัน
แต่ผมคิดว่าหลักการนั้นใช้กันได้เกือบ 100% เงื่อนไขของ
ความสำเร็จนั้นอยู่ที่คนจะประยุกต์ใช้ได้ดีแค่ไหนและมีความมั่น
คงเพียงใด
————————————————————
ความผิดพลาด25ปีแรกของ วอเร็น บัฟเฟตต์
ข้อความต่อไปนี้ปรากฎอยู่ในรายงานประจำปี 2532
ของเบอร์กไชร์ฮาธาเวย์
บริษัทที่วอเร็น บัฟเฟตต์ ใช้ในการลงทุนถือหุ้นของเขา
สิ่งที่บัฟเฟตต์เขียนถือเป็นหลักสำคัญในวิธีคิดและ
หลักการลงทุนบางส่วนที่สำคัญมากของเขาในปัจจุบัน
ความผิดพลาดข้อแรกของผม
แน่นอนคือการซื้อหุ้นส่วนใหญ่ของเบอร์กไชร์
ถึงแม้ว่าผมจะรู้ว่าธุรกิจของมัน การผลิตสิ่งทอ
เป็นสิ่งที่ไม่ค่อยมีอนาคต
แต่ผมก็ถูกล่อให้ซื้อเพราะราคาที่ดูเหมือนว่าจะถูกมาก
การซื้อหุ้นแบบนั้นได้สร้างผลตอบแทนให้ผมไม่เลว
ในช่วงที่ผมเริ่มลงทุนใหม่ ๆ
อย่างไรก็ตามเมื่อเราได้เบอร์กไชร์มาในปี 2508
ผมก็เริ่มตระหนักว่านี่ไม่ใช่กลยุทธ์ในฝัน
ถ้าคุณซื้อหุ้นในราคาที่ถูกพอ
โดยปกติก็จะมีช่วงเวลาหนึ่งที่ผลกำไรของธุรกิจ
จะกระตุกหรือดีดตัวขึ้นซึ่ง
จะเปิดโอกาสให้คุณขายหุ้นทิ้งและได้กำไรพอสมควร
ถึงแม้ว่าผลการดำเนินงานในระยะยาวของธุรกิจจะแย่มาก
ผมเรียกแนวการลงทุนแบบนี้ว่า ก้นบุหรี่
นั่นคือก้นบุหรี่ที่พบบนถนนที่เหลือพอสูบได้
เพียงคำเดียวนั้นอาจจะให้ความสุขในการสูบได้ไม่มาก
แต่ราคาซื้อที่ถูกมาก”
จะทำให้การสูบมีกำไร
บัฟเฟตต์ พูดอีกหลายประเด็นเกี่ยวกับข้อผิดพลาดในการซื้อหุ้น
โดยมองที่ความถูกเป็นหลักและเขาสรุปว่า
ผมสามารถยกตัวอย่างความโง่เขลาของการซื้อหุ้นถูก อื่น ๆ อีก
แต่ผมแน่ใจว่าคุณจะเห็นภาพนั่นคือ มันเป็นเรื่องที่ดีกว่ามาก
ที่จะซื้อบริษัทที่ดีเลิศในราคาที่ยุติธรรม
แทนที่จะซื้อบริษัทที่ดีพอใช้ในราคาที่ดีเยี่ยม
ผมเป็นคนที่เรียนรู้ช้า แต่เดี๋ยวนี้ เมื่อจะซื้อบริษัทหรือหุ้น
เรามองหาธุรกิจชั้นหนึ่ง
ที่มาพร้อมกับผู้บริหารชั้นหนึ่ง
ผมได้พูดมาหลายครั้งว่า
เมื่อผู้จัดการที่มีชื่อเสียงสุดยอดในการบริหารธุรกิจ
มาเจอกับธุรกิจที่มีชื่อเสียงสุด แย่ในด้านของการทำกำไร
สิ่งที่เหลืออยู่ก็คือ
ชื่อเสียงของธุรกิจ
บทเรียนต่อมาที่บัฟเฟตต์พูดถึงก็คือ หลังจาก 25
ปีของการซื้อและดูแลธุรกิจที่หลากหลาย
ผมไม่เคยเรียนรู้ที่จะแก้ปัญหายาก ๆ ของธุรกิจเลย
สิ่งที่เราเรียนรู้ก็คือการหลีกมัน
การที่เราประสบความสำเร็จนั้นเป็นเพราะเรามุ่งเน้นที่การมองหารั้วที่สูง 1 ฟุต
สามารถก้าวข้ามไปได้มากกว่าที่เราจะสร้างความสามารถในการที่
จะกระโดดข้ามรั้วสูง 7 ฟุต
การค้นพบนี้ดูเหมือนว่าจะไม่ยุติธรรม
แต่ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของธุรกิจและการลงทุน
มันเป็นเรื่องที่สามารถทำ
กำไรได้มากกว่ามากที่จะเพียงยึดอยู่กับสิ่งที่ง่ายและ
เห็นได้ชัดมากกว่าที่จะวิเคราะห์หรือตัดสินใจในสิ่งที่ยาก…
ในอีกกรณีหนึ่ง
โอกาสการลงทุนที่ยิ่งใหญ่จะเกิดขึ้นเมื่อธุรกิจที่ดีเยี่ยมประสบกับ
ปัญหาที่ยิ่งใหญ่ที่เกิดครั้งเดียว
แต่แก้ไขได้อย่างเช่นในกรณีที่เกิดมาแล้วหลายปีของหุ้นอเมริกัน
เอ็กซ์เพรสและ GEICO
อย่างไรก็ตามโดยรวมแล้ว
เราทำได้ดีกว่าโดยการหลีกเลี่ยงมังกรแทนที่จะฆ่ามัน
การค้นพบที่น่าประหลาดใจที่สุดของผมซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญมากใน
ธุรกิจก็คือพลังแฝง ที่เราอาจจะเรียกว่า
“สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ของสถาบัน”…….ยกตัวอย่างเช่น…….
2) เช่นเดียวกับที่งานถูกขยายออกไปเมื่อมีเวลาเหลือ
โครงการลงทุนและการซื้อกิจการต่าง ๆ
ก็เกิดขึ้นเพื่อที่จะใช้เงินของบริษัทให้หมด
3) ธุรกิจที่ผู้นำปรารถนาที่จะทำ ไม่ว่าจะโง่เขลาเพียงใด
จะได้รับการสนับสนุนอย่างรวดเร็วโดยตัวเลข
ผลตอบแทนการลงทุนและยุทธศาสตร์ที่เตรียมโดยลูกน้องของเขา
4) พฤติกรรมของบริษัทคู่แข่งในกลุ่มเดียวกัน ไม่ว่าเขาจะขยายงาน
ซื้อกิจการ ตั้งและจ่ายผลตอบแทน
ให้แก่ผู้บริหาร หรืออะไรก็ตาม
จะถูกเลียนแบบโดยไม่คิดถึงความเหมาะสม.
หลังจากความผิดพลาดอื่น ๆ
ผมเรียนรู้ที่จะทำธุรกิจเฉพาะกับคนที่ผมชอบ เชื่อใจ และยกย่อง
ตรงกันข้ามเราไม่ประสงค์ที่ร่วมกับผู้จัดการซึ่งขาดคุณสมบัติที
่น่าชมเชยไม่ว่าธุรกิจของเขาจะมีแนวโน้ม
น่าสนใจแค่ไหน เราไม่เคยประสบความสำเร็จในการซื้อธุรกิจดี ๆ
กับคนที่ไม่ดี
ความผิดพลาดที่ร้ายแรงที่สุดบางอย่างของผมไม่ได้เปิดเผยต่อสาธา
รณชน นั่นคือหุ้นหรือธุรกิจซึ่งผมรู้จัก
คุณค่าของมันดีแต่กลับไม่ได้ซื้อ
ไม่ใช่เรื่องบาปที่คนจะพลาดโอกาสการลงทุนที่ยิ่งใหญ่ที่อยู่
นอกเหนือความรู้ หรือความเข้าใจของเขา
แต่ผมได้ปล่อยธุรกิจที่ยิ่งใหญ่หลายรายที่เสิร์ปมาให้ถึงที่และ
เป็นธุรกิจที่ผมสามารถ
เข้าใจได้อย่างเต็มที่ให้หลุดไป สำหรับผู้ถือหุ้นของเบอร์กไชร์
รวมถึงตัวผมเอง บทเรียนนี้ราคาแพงมาก
นโยบายการเงินที่อนุรักษ์นิยมสุดยอดของเราอาจจะดูเหมือนว่าเป็น
ความผิดพลาดแต่ผมคิดว่าไม่
มองย้อนกลับไปถ้าเรากู้เงินมาลงทุนในระดับปกติของธุรกิจ
ผลตอบแทนการลงทุนของเราคงจะดีกว่า
เฉลี่ยปีละ 23.8% ที่เราได้มา แม้ในปี 2508
บางทีเราสามารถที่จะตัดสินว่ามีโอกาสถึง 99% ที่การกู้เพิ่ม
จะทำให้ผลกำไรสูงขึ้น ในเวลาเดียวกันเราอาจจะเห็นว่ามีโอกาสเพียง
1% ที่จะเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน
ซึ่งอาจทำให้เราเสียหายหรือถึงล้มละลาย
เราไม่ชอบโอกาส 99:1 นั้นและจะไม่ชอบตลอดไป
โอกาสเล็กน้อยของการเสียหายหรือเสียหายหนัก
ในมุมมองของเราจะไม่คุ้มกับโอกาสมากมายที่จะได้ผลตอบแทนเพิ่มขึ้น
ถ้าการกระทำของคุณมีเหตุผลคุณ
ก็แน่นอนว่าจะได้ผลลัพธ์ที่ดีอยู่แล้ว
ในกรณีส่วนมากการกู้ก็เพียงแต่ทำให้สิ่งต่าง ๆ เคลื่อนเร็วขึ้น…
ผมไม่เคยรีบมาก : เรามีความสุขกับการลงทุนมากกว่าผลตอบแทนที่ได้
– แม้ว่าเราจะได้เรียนรู้ที่จะอยู่กับมันทั้งคู่
เราหวังว่าในอีก 25 ปีต่อไปที่เราจะรายงานความผิดพลาดใน 50 ปีแรก
ถ้าเรายังคงอยู่ในปี 2558 ที่จะทำอย่างนั้น
คุณเชื่อได้เลยว่าส่วนนี้จะกินพื้นที่กระดาษมากกว่านี้มาก”
Value Investor
ของไทยเรายังมีบทเรียนหรือความผิดพลาดน้อยเมื่อคิดถึงระยะเวลาที่ความคิดและ
แนวทางการลงทุนแบบ Value Investment
ที่เพิ่งก่อร่างขึ้นมาเพียงไม่ถึง 10 ปี แต่โชคดีที่เรามีเซียน
อย่างวอเร็น บัฟเฟตต์ที่ผ่านประสบการณ์มายาวนาน และ
เล่าเรื่องที่เกิดขึ้นให้ฟัง
ตลาดอเมริกันกับไทยอาจจะแตกต่างกัน
แต่ผมคิดว่าหลักการนั้นใช้กันได้เกือบ 100% เงื่อนไขของ
ความสำเร็จนั้นอยู่ที่คนจะประยุกต์ใช้ได้ดีแค่ไหนและมีความมั่น
คงเพียงใด
ตอนที่5 สร้างชื่อเสียงเงินทองจากการลงทุน
ตอนที่5 สร้างชื่อเสียงเงินทองจากการลงทุน
ตอนที่5 สร้างชื่อเสียงเงินทองจากการลงทุน
เรื่องย่อโดย www.holidaytours.in.th
บัฟเฟต์แตกต่างจากผู้ลงทุนทั่วไป
เนื่องจากไม่มีใคร
สามารถคาดเดาจังหวะการขึ้นลงของหุ้นที่แน่นอนได้
บัฟเฟตต์จึงเลือกที่ซื้อหุ้นในจุดที่ราคายังต่ำ
และกิจการมีโอกาสเติบโตได้มาก
โดยไม่นำพากับสภาวะตลาดผันผวนระหว่างทาง
เพราะเขาเชื่อมั่นว่าหุ้นที่ดี
จะมีการเดินทางของราคาที่สูงขึ้นในที่สุด
————————————————————
บัฟเฟต์แตกต่างจากผู้ลงทุนทั่วไป
เนื่องจากไม่มีใคร
สามารถคาดเดาจังหวะการขึ้นลงของหุ้นที่แน่นอนได้
บัฟเฟตต์จึงเลือกที่ซื้อหุ้นในจุดที่ราคายังต่ำ
และกิจการมีโอกาสเติบโตได้มาก
โดยไม่นำพากับสภาวะตลาดผันผวนระหว่างทาง
เพราะเขาเชื่อมั่นว่าหุ้นที่ดี
จะมีการเดินทางของราคาที่สูงขึ้นในที่สุด
————————————————————
รายละเอียด วอร์เรน บัฟเฟตต์
ผู้สร้างชื่อเสียงเงินทองจากการลงทุน
โดย Settrade.com (ได้ตัดข้อความบางส่วนไปใส่ในตอนลงทุนตอน6ขวบ)
เมื่อประมาณสัปดาห์ที่แล้วได้มีโอกาสเขียนถึง เบนจามิน เกรแฮม
และทฤษฎีที่สร้างชื่อเสียงให้กับเขาคือ Margin of Safety
ซึ่งในบทความวันนั้นได้มีการกล่าวถึง
ผู้ยิ่งใหญ่ในวงการการลงทุนในหุ้น
ที่มีชื่อเสียงระดับโลกอีกท่านหนึ่งนั่นก็คือ วอร์เรน บัฟเฟตต์
(Warren Buffett)
ผู้ซึ่งเป็นศิษย์เอกของเกรแฮม
และดูเหมือนจะทำได้ดีกว่าผู้เป็นอาจารย์อยู่ขั้นหนึ่ง
ดังนั้นวันนี้ขอใช้พื้นที่ตรงนี้พูดถึงบัฟเฟตต์
และหลักการลงทุนที่ทำให้
ตัวเขาประสบความสำเร็จ ขนาดเป็นมหาเศรษฐีลำดับต้นๆ ของโลก
อารมณ์นั้นเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้บัฟเฟต์แตกต่างจากผู้ลงทุนทั่ว
ไป
ที่มักจะไม่ทำตามเป้าหมายการลงทุนที่วางไว้
และบ่อยครั้งที่มักจะเข้าซื้อขายอย่างหุนหันพลันแล่น
เช่นซื้อด้วยแรงกระตุ้น และการรับข่าวสารสั้นๆ
และขายหุ้นด้วยความกลัวอย่างไม่มีเหตุผล
ยกตัวอย่างง่ายๆ เช่น ตามกฎการตัดขาดทุน คือ
ขายหุ้นที่ขาดทุน และถือหุ้นที่มีกำไร
แต่ผู้ลงทุนส่วนใหญ่มักจะทำตรงกันข้ามคือ
ขายหุ้นที่กำไร และถือหุ้นที่ขาดทุนไว้
อาจจะด้วยความกังวลใจที่หุ้นที่ถืออยู่และมีกำไร
เริ่มปรับตัวลง จึงตัดสินใจขายหุ้นออกไป
และพยายามหาเหตุผลเข้าข้างตัวเองว่า
ขายทำกำไรดีกว่าปล่อยให้ขาดทุน
และตรงกันข้ามกับ ผู้ลงทุนที่ถือหุ้นและขาดทุนอยู่
จึงได้แต่บอกกับตัวเองว่า
จะขายถ้าราคาหุ้นกลับขึ้นมาถึง ราคาที่เคยซื้อไว้
ซึ่งการลงทุนแบบนี้นั้นมีโอกาสเกิดการขาดทุนสูง
เนื่องจากไม่มีใคร
สามารถคาดเดาจังหวะการขึ้นลงของหุ้นที่แน่นอนได้
ดังนั้นวิธีการหลีกเลี่ยงการซื้อขายผิดจังหวะก็คือ
เดินตามรอยของบัฟเฟตต์ที่จะเลือกซื้อหุ้นในจุดที่ราคายังต่ำ
และกิจการมีโอกาสเติบโตได้มาก
โดยไม่นำพากับสภาวะตลาดผันผวนระหว่างทาง
เพราะเขาเชื่อมั่นว่าหุ้นที่ดี จะมีการเดินทาง
ของราคาที่สูงขึ้นในที่สุด
แนวทางหลักอีกอย่างของบัฟเฟตต์ในการซื้อหุ้นก็คือ
เขาจะมองว่าการซื้อหุ้นคือการเข้าร่วมเป็นเจ้าของบริษัท
ไม่ใช่การซื้อสินค้าที่ต้องซื้อขายเพื่อทำกำไรอยู่ตลอดเวลา
ดังนั้นก่อนจะเข้าลงทุนก็ต้องศึกษาข้อมูลของบริษัทนั้น ๆ
ให้ละเอียด รอบคอบ และเมื่อลงทุนแล้วต้องเชื่อมั่นในบริษัท
ซึ่งแนวคิดนี้นั้นคล้ายกับ Value Investor
มือทองของเมืองไทยท่านหนึ่ง คือ ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร
ซึ่งส่วนใหญ่จะเข้าลงทุนในหุ้นพื้นฐานดี
และไม่ซื้อขายบ่อย ๆ และท่านก็มองว่านี่คือการทำธุรกิจส่วนตัว
ที่ไม่ต้องดำเนินธุรกรรมเองทั้งหมด
เพียงแต่คัดสรรกิจการที่ดีและร่วมเป็นเจ้าของ
โดยเงินปันผลก็เหมือนเงินเดือนที่นำมาใช้จ่ายในชีวิตประจำวันได ้
ผู้สร้างชื่อเสียงเงินทองจากการลงทุน
โดย Settrade.com (ได้ตัดข้อความบางส่วนไปใส่ในตอนลงทุนตอน6ขวบ)
เมื่อประมาณสัปดาห์ที่แล้วได้มีโอกาสเขียนถึง เบนจามิน เกรแฮม
และทฤษฎีที่สร้างชื่อเสียงให้กับเขาคือ Margin of Safety
ซึ่งในบทความวันนั้นได้มีการกล่าวถึง
ผู้ยิ่งใหญ่ในวงการการลงทุนในหุ้น
ที่มีชื่อเสียงระดับโลกอีกท่านหนึ่งนั่นก็คือ วอร์เรน บัฟเฟตต์
(Warren Buffett)
ผู้ซึ่งเป็นศิษย์เอกของเกรแฮม
และดูเหมือนจะทำได้ดีกว่าผู้เป็นอาจารย์อยู่ขั้นหนึ่ง
ดังนั้นวันนี้ขอใช้พื้นที่ตรงนี้พูดถึงบัฟเฟตต์
และหลักการลงทุนที่ทำให้
ตัวเขาประสบความสำเร็จ ขนาดเป็นมหาเศรษฐีลำดับต้นๆ ของโลก
อารมณ์นั้นเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้บัฟเฟต์แตกต่างจากผู้ลงทุนทั่ว
ไป
ที่มักจะไม่ทำตามเป้าหมายการลงทุนที่วางไว้
และบ่อยครั้งที่มักจะเข้าซื้อขายอย่างหุนหันพลันแล่น
เช่นซื้อด้วยแรงกระตุ้น และการรับข่าวสารสั้นๆ
และขายหุ้นด้วยความกลัวอย่างไม่มีเหตุผล
ยกตัวอย่างง่ายๆ เช่น ตามกฎการตัดขาดทุน คือ
ขายหุ้นที่ขาดทุน และถือหุ้นที่มีกำไร
แต่ผู้ลงทุนส่วนใหญ่มักจะทำตรงกันข้ามคือ
ขายหุ้นที่กำไร และถือหุ้นที่ขาดทุนไว้
อาจจะด้วยความกังวลใจที่หุ้นที่ถืออยู่และมีกำไร
เริ่มปรับตัวลง จึงตัดสินใจขายหุ้นออกไป
และพยายามหาเหตุผลเข้าข้างตัวเองว่า
ขายทำกำไรดีกว่าปล่อยให้ขาดทุน
และตรงกันข้ามกับ ผู้ลงทุนที่ถือหุ้นและขาดทุนอยู่
จึงได้แต่บอกกับตัวเองว่า
จะขายถ้าราคาหุ้นกลับขึ้นมาถึง ราคาที่เคยซื้อไว้
ซึ่งการลงทุนแบบนี้นั้นมีโอกาสเกิดการขาดทุนสูง
เนื่องจากไม่มีใคร
สามารถคาดเดาจังหวะการขึ้นลงของหุ้นที่แน่นอนได้
ดังนั้นวิธีการหลีกเลี่ยงการซื้อขายผิดจังหวะก็คือ
เดินตามรอยของบัฟเฟตต์ที่จะเลือกซื้อหุ้นในจุดที่ราคายังต่ำ
และกิจการมีโอกาสเติบโตได้มาก
โดยไม่นำพากับสภาวะตลาดผันผวนระหว่างทาง
เพราะเขาเชื่อมั่นว่าหุ้นที่ดี จะมีการเดินทาง
ของราคาที่สูงขึ้นในที่สุด
แนวทางหลักอีกอย่างของบัฟเฟตต์ในการซื้อหุ้นก็คือ
เขาจะมองว่าการซื้อหุ้นคือการเข้าร่วมเป็นเจ้าของบริษัท
ไม่ใช่การซื้อสินค้าที่ต้องซื้อขายเพื่อทำกำไรอยู่ตลอดเวลา
ดังนั้นก่อนจะเข้าลงทุนก็ต้องศึกษาข้อมูลของบริษัทนั้น ๆ
ให้ละเอียด รอบคอบ และเมื่อลงทุนแล้วต้องเชื่อมั่นในบริษัท
ซึ่งแนวคิดนี้นั้นคล้ายกับ Value Investor
มือทองของเมืองไทยท่านหนึ่ง คือ ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร
ซึ่งส่วนใหญ่จะเข้าลงทุนในหุ้นพื้นฐานดี
และไม่ซื้อขายบ่อย ๆ และท่านก็มองว่านี่คือการทำธุรกิจส่วนตัว
ที่ไม่ต้องดำเนินธุรกรรมเองทั้งหมด
เพียงแต่คัดสรรกิจการที่ดีและร่วมเป็นเจ้าของ
โดยเงินปันผลก็เหมือนเงินเดือนที่นำมาใช้จ่ายในชีวิตประจำวันได ้
โดยไม่ต้องซื้อขายหุ้นเพื่อนำกำไรมาใช้ในระยะสั้น
แต่ต้องมีวินัยในการลงทุนนั่นคือเก็บหุ้นไว้ให้มีมูลค่า
เติบโตทบต้นทบดอกด้วยตัวมันเอง และไม่หวั่นไหวต่อสถานการณ์ต่าง ๆ
ส่วนหลักการลงทุนของบัฟเฟตต์
ที่ใช้เป็นประจำในการเลือกซื้อหุ้นแต่ละตัวได้แก่
เป็นธุรกิจที่ไม่ซับซ้อน
เป็นธุรกิจที่ได้รับความนิยม และมีฐานลูกค้าแข็งแกร่ง
หรือเป็นธุรกิจที่มีชื่อเสียงอยู่แล้ว
ยกตัวอย่างหุ้นที่เขาถืออยู่ อาทิ โค้ก และอเมซอน
สามารถคาดเดารายได้ และรายจ่ายได้ไม่ยาก
เนื่องจากเป็นธุรกิจที่ไม่ซับซ้อน
ดังนั้นเขาจะสามารถคาดเดาได้อย่างไม่ยากว่าจะมีกำไร
หรือขาดทุนในแต่ละปี
ผลตอบแทนต่อทุน (ROE) สูง บัฟเฟตต์
ให้ความสำคัญกับตัวเลขนี้ค่อนข้างมาก
คือน่าจะต้องมากกว่า 12% สำหรับธุรกิจประเภทผลิตสินค้า
แต่หากเป็นธุรกิจสถาบันการเงินแล้ว ค่าตัวเลขนี้ปกติจะสูงมาก
บัฟเฟตต์
จึงแนะนำให้ดูที่ตัวเลขของผลตอบแทนรวมของสินทรัพย์ (ROA)
ประกอบด้วยหากสูงกว่า 10% ก็ถือว่าดี
มีกระแสเงินสดที่ดี เพราะธุรกิจที่ดี
ไม่จำเป็นที่จะต้องใช้เงินทุนสูงมาก
ในการดำเนินงานและรักษาสถานภาพในตลาดเพื่อการแข่งขัน
เพราะควรจะมีรายได้หล่อเลี้ยงอย่างสม่ำเสมอ
มีผู้บริหารที่ดี เห็นแก่ผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นเป็นสำคัญ
ลงทุนในช่วงเวลาที่เหมาะสม เพราะไม่เพียงเลือกธุรกิจที่ดี
แต่ควรเลือกช่วงเวลาที่ดีและราคาเหมาะสมด้วย
และนี่ก็คือข้อมูลอย่างย่อ ๆ
แต่ต้องมีวินัยในการลงทุนนั่นคือเก็บหุ้นไว้ให้มีมูลค่า
เติบโตทบต้นทบดอกด้วยตัวมันเอง และไม่หวั่นไหวต่อสถานการณ์ต่าง ๆ
ส่วนหลักการลงทุนของบัฟเฟตต์
ที่ใช้เป็นประจำในการเลือกซื้อหุ้นแต่ละตัวได้แก่
เป็นธุรกิจที่ไม่ซับซ้อน
เป็นธุรกิจที่ได้รับความนิยม และมีฐานลูกค้าแข็งแกร่ง
หรือเป็นธุรกิจที่มีชื่อเสียงอยู่แล้ว
ยกตัวอย่างหุ้นที่เขาถืออยู่ อาทิ โค้ก และอเมซอน
สามารถคาดเดารายได้ และรายจ่ายได้ไม่ยาก
เนื่องจากเป็นธุรกิจที่ไม่ซับซ้อน
ดังนั้นเขาจะสามารถคาดเดาได้อย่างไม่ยากว่าจะมีกำไร
หรือขาดทุนในแต่ละปี
ผลตอบแทนต่อทุน (ROE) สูง บัฟเฟตต์
ให้ความสำคัญกับตัวเลขนี้ค่อนข้างมาก
คือน่าจะต้องมากกว่า 12% สำหรับธุรกิจประเภทผลิตสินค้า
แต่หากเป็นธุรกิจสถาบันการเงินแล้ว ค่าตัวเลขนี้ปกติจะสูงมาก
บัฟเฟตต์
จึงแนะนำให้ดูที่ตัวเลขของผลตอบแทนรวมของสินทรัพย์ (ROA)
ประกอบด้วยหากสูงกว่า 10% ก็ถือว่าดี
มีกระแสเงินสดที่ดี เพราะธุรกิจที่ดี
ไม่จำเป็นที่จะต้องใช้เงินทุนสูงมาก
ในการดำเนินงานและรักษาสถานภาพในตลาดเพื่อการแข่งขัน
เพราะควรจะมีรายได้หล่อเลี้ยงอย่างสม่ำเสมอ
มีผู้บริหารที่ดี เห็นแก่ผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นเป็นสำคัญ
ลงทุนในช่วงเวลาที่เหมาะสม เพราะไม่เพียงเลือกธุรกิจที่ดี
แต่ควรเลือกช่วงเวลาที่ดีและราคาเหมาะสมด้วย
และนี่ก็คือข้อมูลอย่างย่อ ๆ
บทย่อโดย www.holidaytours.in.th
“ถ้าเราวิเคราะห์ดีแล้วเมื่อเราซื้อหุ้น
เวลาที่จะขายหุ้นนั้นเกือบจะไม่ต้องเลย”
วอเร็น บัฟเฟตต์นั้นไม่เหมือนนักลงทุนคนอื่น
เขาซื้อโดยมีสมมติฐานว่าจะไม่ขาย
หุ้นที่เขาลงทุนส่วนใหญ่ อยู่กับเขามานาน หลาย ๆ บริษัท
เขาคือเจ้าของและผู้ถือหุ้นใหญ่ที่สุด
เขาไม่ดูราคาหุ้น สิ่งที่เขาดูก็คือ ผลกำไรของบริษัท
ดูเงินสดที่บริษัทหามาได้
และบ่อยครั้งเขาเอาเงินสดนั้นมาใช้ลงทุนซื้อกิจการ
หรือหุ้นตัวอื่นต่อ ๆ ไป และนี่คือ
วิธีการทำเงินจากหุ้นโดยไม่ต้องขายหุ้นแต่ซื้อหุ้นไปเรื่อย ๆ
จะเรียกว่าลงทุนแบบ One Way Ticket ก็น่าจะได้
————————————————————
“ถ้าเราวิเคราะห์ดีแล้วเมื่อเราซื้อหุ้น
เวลาที่จะขายหุ้นนั้นเกือบจะไม่ต้องเลย”
วอเร็น บัฟเฟตต์นั้นไม่เหมือนนักลงทุนคนอื่น
เขาซื้อโดยมีสมมติฐานว่าจะไม่ขาย
หุ้นที่เขาลงทุนส่วนใหญ่ อยู่กับเขามานาน หลาย ๆ บริษัท
เขาคือเจ้าของและผู้ถือหุ้นใหญ่ที่สุด
เขาไม่ดูราคาหุ้น สิ่งที่เขาดูก็คือ ผลกำไรของบริษัท
ดูเงินสดที่บริษัทหามาได้
และบ่อยครั้งเขาเอาเงินสดนั้นมาใช้ลงทุนซื้อกิจการ
หรือหุ้นตัวอื่นต่อ ๆ ไป และนี่คือ
วิธีการทำเงินจากหุ้นโดยไม่ต้องขายหุ้นแต่ซื้อหุ้นไปเรื่อย ๆ
จะเรียกว่าลงทุนแบบ One Way Ticket ก็น่าจะได้
————————————————————
รายละเอียด
One Way Ticket (วอเร็น บัฟเฟตต์)
โลกในมุมมองของ Value Investor ดร. นิเวศน์ เหมวชิรวรากร
วอเร็น บัฟเฟตต์ นักลงทุนเอกของโลกบอกว่า
เขาอยากซื้อหุ้นของกิจการที่ดีเยี่ยมที่สุด
ในราคาที่ยุติธรรม แล้วเก็บเอาไว้ไม่ขายเลยตลอดชีวิต
และกลยุทธ์นี้เองที่ทำให้เขา
สามารถทำกำไรได้ผลตอบแทน จากการลงทุนสูงมากเฉลี่ยกว่า 20%
ต่อปีทบต้นมาเรื่อย ๆ
เป็นเวลาเกือบ 50 ปี และกลายเป็นบุคคลที่รวยเป็นอันดับสองของโลก
ด้วยความมั่งคั่ง
หลายหมื่นล้านเหรียญสหรัฐ
ความคิดของการซื้อหุ้นแล้วไม่ขายเลย นั้นบัฟเฟตต์ได้มาจากฟิลิป ฟิชเชอร์ใน
หนังสือคลาสสิค Common Stocks and Uncommon Profit
ซึ่งตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1958
ต่อไปนี้เป็นคำเรียบเรียงของบางส่วน ในหนังสือซึ่งวอเร็น
บัฟเฟตต์เคยอ้างถึง
และผมคิดว่า Value Investor ควรได้เรียนรู้เอาไว้
และถ้าเป็นไปได้นำมาประยุกต์
ใช้กับการลงทุนของตนเอง
มีการอ้างเหตุผลอีกข้อหนึ่งในการขายหุ้น
ของนักลงทุนซึ่งทำให้เขาพลาดจากกำไร
ที่เขาควรจะได้ เหตุผลข้อนี้น่าจะเป็นเหตุผลที่ไร้สาระที่สุด
นั่นก็คือหุ้นที่เขาถืออยู่มีราคาวิ่งขึ้น
ไปมากมหาศาล
เพราะฉะนั้นมันคงรองรับผลการดำเนินงานในอนาคตไปหมดแล้ว
ดังนั้นเขาควรจะขายมัน และซื้อหุ้นตัวอื่นที่ราคายังไม่ได้ขึ้น
บริษัทที่ดีเยี่ยม ซึ่งเป็นหุ้นประเภทเดียว
ที่ผมคิดว่านักลงทุนควรซื้อ ไม่ได้ทำงานแบบนี้
การทำงานของมันอาจจะเข้าใจได้ง่ายที่สุด โดยการอุปมาอุปไมกับเรื
่องดังต่อไปนี้
สมมติว่ามันเป็นวันที่คุณเรียนจบจากมหาวิทยาลัย
หรือเรียนจบมัธยมก็ได้ ทีนี้สมมติต่อว่า
ในวันนั้นเพื่อนร่วมชั้นของคุณทุกคน ต้องการเงินสดอย่างเร่งด่วน
แต่ละคนเสนอเงื่อนไขให้คุณ
แบบเดียวกันนั่นคือ ถ้าคุณให้เงินพวกเขาเท่ากับ 10
เท่าของรายได้ทั้งหมดที่เขาจะได้รับ
ในช่วง 12 เดือนข้างหน้าหลังจากที่เขาเริ่มทำงาน
พวกเขาก็จะตอบแทนคุณโดยการจ่ายเงินให้คุณ
เท่ากับหนึ่งในสี่ของรายได้ของเขาตลอดชีวิต
One Way Ticket (วอเร็น บัฟเฟตต์)
โลกในมุมมองของ Value Investor ดร. นิเวศน์ เหมวชิรวรากร
วอเร็น บัฟเฟตต์ นักลงทุนเอกของโลกบอกว่า
เขาอยากซื้อหุ้นของกิจการที่ดีเยี่ยมที่สุด
ในราคาที่ยุติธรรม แล้วเก็บเอาไว้ไม่ขายเลยตลอดชีวิต
และกลยุทธ์นี้เองที่ทำให้เขา
สามารถทำกำไรได้ผลตอบแทน จากการลงทุนสูงมากเฉลี่ยกว่า 20%
ต่อปีทบต้นมาเรื่อย ๆ
เป็นเวลาเกือบ 50 ปี และกลายเป็นบุคคลที่รวยเป็นอันดับสองของโลก
ด้วยความมั่งคั่ง
หลายหมื่นล้านเหรียญสหรัฐ
ความคิดของการซื้อหุ้นแล้วไม่ขายเลย นั้นบัฟเฟตต์ได้มาจากฟิลิป ฟิชเชอร์ใน
หนังสือคลาสสิค Common Stocks and Uncommon Profit
ซึ่งตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1958
ต่อไปนี้เป็นคำเรียบเรียงของบางส่วน ในหนังสือซึ่งวอเร็น
บัฟเฟตต์เคยอ้างถึง
และผมคิดว่า Value Investor ควรได้เรียนรู้เอาไว้
และถ้าเป็นไปได้นำมาประยุกต์
ใช้กับการลงทุนของตนเอง
มีการอ้างเหตุผลอีกข้อหนึ่งในการขายหุ้น
ของนักลงทุนซึ่งทำให้เขาพลาดจากกำไร
ที่เขาควรจะได้ เหตุผลข้อนี้น่าจะเป็นเหตุผลที่ไร้สาระที่สุด
นั่นก็คือหุ้นที่เขาถืออยู่มีราคาวิ่งขึ้น
ไปมากมหาศาล
เพราะฉะนั้นมันคงรองรับผลการดำเนินงานในอนาคตไปหมดแล้ว
ดังนั้นเขาควรจะขายมัน และซื้อหุ้นตัวอื่นที่ราคายังไม่ได้ขึ้น
บริษัทที่ดีเยี่ยม ซึ่งเป็นหุ้นประเภทเดียว
ที่ผมคิดว่านักลงทุนควรซื้อ ไม่ได้ทำงานแบบนี้
การทำงานของมันอาจจะเข้าใจได้ง่ายที่สุด โดยการอุปมาอุปไมกับเรื
่องดังต่อไปนี้
สมมติว่ามันเป็นวันที่คุณเรียนจบจากมหาวิทยาลัย
หรือเรียนจบมัธยมก็ได้ ทีนี้สมมติต่อว่า
ในวันนั้นเพื่อนร่วมชั้นของคุณทุกคน ต้องการเงินสดอย่างเร่งด่วน
แต่ละคนเสนอเงื่อนไขให้คุณ
แบบเดียวกันนั่นคือ ถ้าคุณให้เงินพวกเขาเท่ากับ 10
เท่าของรายได้ทั้งหมดที่เขาจะได้รับ
ในช่วง 12 เดือนข้างหน้าหลังจากที่เขาเริ่มทำงาน
พวกเขาก็จะตอบแทนคุณโดยการจ่ายเงินให้คุณ
เท่ากับหนึ่งในสี่ของรายได้ของเขาตลอดชีวิต
ตอนที่7 วิธีการและแนวทางในการลงทุน
เรื่องย่อโดย www.holidaytours.in.th
บัฟเฟต์เลือกจะลงทุนในบริษัทชั้นหนึ่ง
ที่ตัวเองมีความเข้าใจเป็นอย่างดีเท่านั้น
รวมทั้งมีผู้บริหารที่ไว้ใจได้ด้วย วอร์เร็นได้กล่าวว่า
”หลังจากที่ซื้อหุ้นแล้ว ผมจะไม่สนใจตลาดหุ้นเลย
และถึงแม้ว่าตลาดหุ้นจะปิดทำการยาวนานถึง10ปีก็ตาม
ทั้งนี้ก็เพราะว่า ผมมั่นใจธุรกิจที่ลงทุนไปแล้วนั้น
มีมูลค่าที่แท้จริงของมัน
ซึ่งผมไม่จำเป็นต้องให้ตลาดหุ้นมารับรู้ด้วยก็ได้”
————————————————————
เรื่องย่อโดย www.holidaytours.in.th
บัฟเฟต์เลือกจะลงทุนในบริษัทชั้นหนึ่ง
ที่ตัวเองมีความเข้าใจเป็นอย่างดีเท่านั้น
รวมทั้งมีผู้บริหารที่ไว้ใจได้ด้วย วอร์เร็นได้กล่าวว่า
”หลังจากที่ซื้อหุ้นแล้ว ผมจะไม่สนใจตลาดหุ้นเลย
และถึงแม้ว่าตลาดหุ้นจะปิดทำการยาวนานถึง10ปีก็ตาม
ทั้งนี้ก็เพราะว่า ผมมั่นใจธุรกิจที่ลงทุนไปแล้วนั้น
มีมูลค่าที่แท้จริงของมัน
ซึ่งผมไม่จำเป็นต้องให้ตลาดหุ้นมารับรู้ด้วยก็ได้”
————————————————————
รายละเอียด
วิธีการและแนวทางในการลงทุน ของ วอร์เร็น บัฟเฟตต์
หุ้นไม่ใช่เพียงแค่กระดาษแผ่นหนึ่งอย่างที่หลายๆคนคิด
มันเป็นเอกสารที่แสดงถึงความมีส่วนเป็นเจ้าของในกิจการนั้นด้วย
เมือคิดจะลงทุน จงใช้มุมมองอย่างเจ้าของกิจการในการเลือกลงทุน
มุ่งเน้นลงไปในกิจการและข้อมูลเบี้องหลัง
ไม่ใช่แค่มองว่ามันเป็นแค่หุ้น
ต้องรู้ใช้ชัดว่ากิจการนี้ทำอะไร และทำได้ดีแค่ไหน?
พิจารณาลงทุนเฉพาะกิจการที่เราเข้าใจได้
เพราะไม่เช่นนั้นเราจะไม่สามารถ
ที่จะค้นหามูลค่าที่แท้จริงของกิจการที่เราเป็นเจ้าของได้
มีกิจการที่ดีเพียงไม่กี่บริษัทที่เราจะสามารถลงทุนแล้วได้รับผ
ลตอบแทนสูง
ในโลกนี้ประกอบไปด้วยธุรกิจที่ดีเด่น ธุรกิจที่แย่
และธุรกิจที่ไม่ดีไม่เลว
จงจำกัดการค้นหาธุรกิจนั้นโดยมองย้อนไปถึงประวัติเก่าๆของกิจกา
รนั้นๆ
”นักลงทุนควรที่จะคิดเสมอว่าการลงทุนนั้นเปรียบเสมือนการตัดสิน
ใจครั้งสำคัญ
ในชีวิตซึ่งมีได้เพียงยี่สิบครั้งเท่านั้น
ดังนั้นการตัดสินใจทุกครั้งจะต้องไตร่ตรองให้ดี
เพราะหากพลาดไปจะเหลือโอกาสอีกไม่มาแล้ว”
ธุรกิจที่ดีจะเสมือนว่ามีทางด่วน
ซึ่งลูกค้าต้องจ่ายเพื่อข้ามไปสู่จุดหมายปลายทางที่เขาต้องการ
และสิ่งนี้จะทำให้กิจการนั้นสามารถเติบโตได้ตลอดไป
ดังตัวอย่างเช่น
• บริษัทหลายบริษัทจำเป็นต้องประชาสัมพันธ์
สินค้าและบริการของตัวเอง
ซึ่งบริษัทโฆษณาก็จะสามารถได้รับผลประโยชน์จากความต้องการโฆษณา
นี้ด้วย
• ผู้ชายส่วนใหญ่จำเป็นต้องโกนหนวด และผู้หญิงก็อาจจะโกนขนขา
สำหรับกิจการที่ผลิตมีดโกนที่ใหญ่ที่สุด
ในโลก อย่างเช่น Gillette
ซึ่งสามารถยึดคลองตลาดที่ไม่มีวันหดหายไปได้เลย และจะเติบโตไปตาม
การขยายตัวของจำนวนประชากรโลก
ธุรกิจที่ยิ่งใหญ่มักจะมีคุณสมบัติต่างๆดังนี้
1 ไม่ซับซ้อน (Simplicity) กิจการเหล่านี้จะเข้าใจได้ง่ายๆ
และใช้การบริหารแบบธรรมดา
2 ธุรกิจเสมือนมีสิทธิพิเศษที่แข็งแกร่ง (Strong business
franchises)
ธุรกิจเหล่านี้จะได้รับประโยชน์จาก ค่าความนิยมทางเศรษฐกิจ
(Economic Goodwill)
เช่นสามารถปรับราคาขึ้นได้โดยที่ ลูกค้าไม่มีความขัดข้อง
3 สามารถคาดการได้ (predictability)
สามารถคาดการผลประกอบการได้อย่างมั่นใจ
4 ผลตอบแทนจากเงินทุนสูง (High return on Equity)
สามารถที่จะมีผลตอบแทนจากเงินทุนได้สูง
โดยไม่ต้องอาศัยการตบแต่งบัญชี (Creative Accounting)
หรือการใช้เงินลงทุนจากการกู้
ซึ่งผลตอบแทนจากการลงทุนนี้สำคัญกว่าตัวเลขกำไรต่อหุ้นที่หลายๆ
คนให้ความสำคัญเสียอีก
5 สามารถสร้างกระแสเงินสดได้ดี (Strong Cash Generation)
เป็นธุรกิจที่ไม่ต้องมีการลงทุนอย่าง
มหาศาลเพื่อรักษาความสามารถในการแข่งขันให้สูงอยู่ตลอดเวลา
ธุรกิจที่แข็งแกร่งจริงจะใช้เงินลงทุนเพียง
เล็กน้อยก็สามารถรักษาความสามารถในการแข่งขันได้อย่างมั่นคง
6 อุทิศทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อสร้างมูลค่าให้แก่ผู้ถือหุ้น
(Devotion to Shareholder Value) การที่มีผู้บริหาร
ที่ซื่อสัตย์ และมีฝีมือทุ่มแรงกายแรงใจให้แก่งานของบริษัท
เพื่อสร้างมูลค่าให้กิจการตลอดเวลา
ในการประเมินมูลค่าที่แท้จริงของธุรกิจจงจำไว้ว่า
”ราคาคือสิ่งที่เราจ่าย มูลค่าคือสิ่งที่เราได้รับ”
ดังนั้นการลงทุนใดๆเราต้องคำนึงถึงส่วนต่างเพื่อความปลอดภัย
(Margin of Safety)
ระหว่างราคากับมูลค่าให้มากไว้
เพื่อหากว่าเราเกิดความผิดพลาดขึ้นก็ยังไม่ทำให้เราขาดทุนมาก
ในการประเมินมูลค่าที่แท้จริงนั้น
วอร์เร็นมักจะใช้วิธีคิดลดกระแสเงินสด(Discount Cash flow)
หรือที่เรียกกันสั้นๆว่า DCF
วิธีการนี้คือการประมาณกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการจะได้รับ
และคิดลดกระแสเงินสดนั้นกลับมา ณ
ปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดที่ปราศจากความเสี่ยงโดยเทียบกับ
การลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล อาจจะเป็น10ปีหรือน้อยกว่านั้น
ซึ่งผลที่ได้สามารถบอกเราได้ถึงส่วนต่าง
ของราคาปัจจุบันกับมูลค่าซึ่งนั่นก็คือส่วนต่างเพื่อความปลอดภัย(Margin of Safety)
ไม่สนในการเปลี่ยนแปลงของตลาดหุ้น วอร์เร็นเคยพูดไว้ว่า
”หลังจากที่ซื้อหุ้นแล้ว ผมจะไม่สนใจตลาดหุ้นเลย
และถึงแม้ว่าตลาดหุ้นจะปิดทำการยาวนานถึง10ปีก็ตาม
ทั้งนี้ก็เพราะว่าผมมั่นใจธุรกิจที่ลงทุนไปแล้วนั้นมีมูลค่าที่ แท้จริงของมัน
ซึ่งผมไม่จำเป็นต้องให้ตลาดหุ้นมารับรู้ด้วยก็ได้”
วอร์เร็นจะขายหุ้นก็ต่อเมื่อ
• ถ้ามูลค่าที่แท้จริงของกิจการไม่ได้เพิ่มสูงขึ้นตามอัตราที่ควรจะเป็น
• ถ้ามูลค่าตลาดของกิจการเพิ่มสูงกว่ามูลค่าที่แท้จริงที่ประเมิน ได้มากจนเกินไป
วิธีการและแนวทางในการลงทุน ของ วอร์เร็น บัฟเฟตต์
หุ้นไม่ใช่เพียงแค่กระดาษแผ่นหนึ่งอย่างที่หลายๆคนคิด
มันเป็นเอกสารที่แสดงถึงความมีส่วนเป็นเจ้าของในกิจการนั้นด้วย
เมือคิดจะลงทุน จงใช้มุมมองอย่างเจ้าของกิจการในการเลือกลงทุน
มุ่งเน้นลงไปในกิจการและข้อมูลเบี้องหลัง
ไม่ใช่แค่มองว่ามันเป็นแค่หุ้น
ต้องรู้ใช้ชัดว่ากิจการนี้ทำอะไร และทำได้ดีแค่ไหน?
พิจารณาลงทุนเฉพาะกิจการที่เราเข้าใจได้
เพราะไม่เช่นนั้นเราจะไม่สามารถ
ที่จะค้นหามูลค่าที่แท้จริงของกิจการที่เราเป็นเจ้าของได้
มีกิจการที่ดีเพียงไม่กี่บริษัทที่เราจะสามารถลงทุนแล้วได้รับผ
ลตอบแทนสูง
ในโลกนี้ประกอบไปด้วยธุรกิจที่ดีเด่น ธุรกิจที่แย่
และธุรกิจที่ไม่ดีไม่เลว
จงจำกัดการค้นหาธุรกิจนั้นโดยมองย้อนไปถึงประวัติเก่าๆของกิจกา
รนั้นๆ
”นักลงทุนควรที่จะคิดเสมอว่าการลงทุนนั้นเปรียบเสมือนการตัดสิน
ใจครั้งสำคัญ
ในชีวิตซึ่งมีได้เพียงยี่สิบครั้งเท่านั้น
ดังนั้นการตัดสินใจทุกครั้งจะต้องไตร่ตรองให้ดี
เพราะหากพลาดไปจะเหลือโอกาสอีกไม่มาแล้ว”
ธุรกิจที่ดีจะเสมือนว่ามีทางด่วน
ซึ่งลูกค้าต้องจ่ายเพื่อข้ามไปสู่จุดหมายปลายทางที่เขาต้องการ
และสิ่งนี้จะทำให้กิจการนั้นสามารถเติบโตได้ตลอดไป
ดังตัวอย่างเช่น
• บริษัทหลายบริษัทจำเป็นต้องประชาสัมพันธ์
สินค้าและบริการของตัวเอง
ซึ่งบริษัทโฆษณาก็จะสามารถได้รับผลประโยชน์จากความต้องการโฆษณา
นี้ด้วย
• ผู้ชายส่วนใหญ่จำเป็นต้องโกนหนวด และผู้หญิงก็อาจจะโกนขนขา
สำหรับกิจการที่ผลิตมีดโกนที่ใหญ่ที่สุด
ในโลก อย่างเช่น Gillette
ซึ่งสามารถยึดคลองตลาดที่ไม่มีวันหดหายไปได้เลย และจะเติบโตไปตาม
การขยายตัวของจำนวนประชากรโลก
ธุรกิจที่ยิ่งใหญ่มักจะมีคุณสมบัติต่างๆดังนี้
1 ไม่ซับซ้อน (Simplicity) กิจการเหล่านี้จะเข้าใจได้ง่ายๆ
และใช้การบริหารแบบธรรมดา
2 ธุรกิจเสมือนมีสิทธิพิเศษที่แข็งแกร่ง (Strong business
franchises)
ธุรกิจเหล่านี้จะได้รับประโยชน์จาก ค่าความนิยมทางเศรษฐกิจ
(Economic Goodwill)
เช่นสามารถปรับราคาขึ้นได้โดยที่ ลูกค้าไม่มีความขัดข้อง
3 สามารถคาดการได้ (predictability)
สามารถคาดการผลประกอบการได้อย่างมั่นใจ
4 ผลตอบแทนจากเงินทุนสูง (High return on Equity)
สามารถที่จะมีผลตอบแทนจากเงินทุนได้สูง
โดยไม่ต้องอาศัยการตบแต่งบัญชี (Creative Accounting)
หรือการใช้เงินลงทุนจากการกู้
ซึ่งผลตอบแทนจากการลงทุนนี้สำคัญกว่าตัวเลขกำไรต่อหุ้นที่หลายๆ
คนให้ความสำคัญเสียอีก
5 สามารถสร้างกระแสเงินสดได้ดี (Strong Cash Generation)
เป็นธุรกิจที่ไม่ต้องมีการลงทุนอย่าง
มหาศาลเพื่อรักษาความสามารถในการแข่งขันให้สูงอยู่ตลอดเวลา
ธุรกิจที่แข็งแกร่งจริงจะใช้เงินลงทุนเพียง
เล็กน้อยก็สามารถรักษาความสามารถในการแข่งขันได้อย่างมั่นคง
6 อุทิศทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อสร้างมูลค่าให้แก่ผู้ถือหุ้น
(Devotion to Shareholder Value) การที่มีผู้บริหาร
ที่ซื่อสัตย์ และมีฝีมือทุ่มแรงกายแรงใจให้แก่งานของบริษัท
เพื่อสร้างมูลค่าให้กิจการตลอดเวลา
ในการประเมินมูลค่าที่แท้จริงของธุรกิจจงจำไว้ว่า
”ราคาคือสิ่งที่เราจ่าย มูลค่าคือสิ่งที่เราได้รับ”
ดังนั้นการลงทุนใดๆเราต้องคำนึงถึงส่วนต่างเพื่อความปลอดภัย
(Margin of Safety)
ระหว่างราคากับมูลค่าให้มากไว้
เพื่อหากว่าเราเกิดความผิดพลาดขึ้นก็ยังไม่ทำให้เราขาดทุนมาก
ในการประเมินมูลค่าที่แท้จริงนั้น
วอร์เร็นมักจะใช้วิธีคิดลดกระแสเงินสด(Discount Cash flow)
หรือที่เรียกกันสั้นๆว่า DCF
วิธีการนี้คือการประมาณกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการจะได้รับ
และคิดลดกระแสเงินสดนั้นกลับมา ณ
ปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดที่ปราศจากความเสี่ยงโดยเทียบกับ
การลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล อาจจะเป็น10ปีหรือน้อยกว่านั้น
ซึ่งผลที่ได้สามารถบอกเราได้ถึงส่วนต่าง
ของราคาปัจจุบันกับมูลค่าซึ่งนั่นก็คือส่วนต่างเพื่อความปลอดภัย(Margin of Safety)
ไม่สนในการเปลี่ยนแปลงของตลาดหุ้น วอร์เร็นเคยพูดไว้ว่า
”หลังจากที่ซื้อหุ้นแล้ว ผมจะไม่สนใจตลาดหุ้นเลย
และถึงแม้ว่าตลาดหุ้นจะปิดทำการยาวนานถึง10ปีก็ตาม
ทั้งนี้ก็เพราะว่าผมมั่นใจธุรกิจที่ลงทุนไปแล้วนั้นมีมูลค่าที่ แท้จริงของมัน
ซึ่งผมไม่จำเป็นต้องให้ตลาดหุ้นมารับรู้ด้วยก็ได้”
วอร์เร็นจะขายหุ้นก็ต่อเมื่อ
• ถ้ามูลค่าที่แท้จริงของกิจการไม่ได้เพิ่มสูงขึ้นตามอัตราที่ควรจะเป็น
• ถ้ามูลค่าตลาดของกิจการเพิ่มสูงกว่ามูลค่าที่แท้จริงที่ประเมิน ได้มากจนเกินไป
ตอนที่8 บทสรุปบัฟเฟตต์ภาคแรก
บัฟเฟตต์ภาคแรก โดย ดร. นิเวศน์ เหมวชิรวรากร
ชีวิตและการลงทุนของวอเร็น บัฟเฟตต์
ในปัจจุบันเป็นที่รับรู้กันอย่างกว้างขวาง
ทั้งในหมู่นักลงทุนและประชาชนทั่วไปในอเมริกา ในเมืองไทยเองนั้น
นักลงทุนจำนวนมากน่าจะรู้จักเขาพอสมควร
นักลงทุนหลายคนนับถือและยึดถือเขา
เป็นแบบอย่างในการลงทุน บทความเกี่ยวกับวอเร็น บัฟเฟตต์
ถูกเขียนขึ้นหลาย ๆ ครั้ง
ทั้งในคอลัมน์นี้และในที่อื่น ๆ ส่วนใหญ่แล้วพูดถึงสิ่งที่เขาทำ
ผลงาน พอร์ตโฟลิโอ
และความมั่งคั่งของเขาเมื่อเขาดังและประสบความสำเร็จ
เป็นนักลงทุนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลกแล้ว
แต่สิ่งที่น่าสนใจไม่แพ้กันสำหรับ Value Investor ทั่ว ๆ ไปนั้น
น่าจะอยู่ที่ชีวิตของบัฟเฟตต์
ในขณะที่เขายังไม่ดัง ไม่เป็นที่รู้จัก ในเวลาที่คนยังถามว่า
ใครนะวอเร็นบัฟเฟตต์ ? เพราะนี่คือ
ช่วงเวลาที่นักลงทุนควรศึกษาว่าวอเร็นบัฟเฟตต์ทำอย่างไรถึงได้
ประสบความสำเร็จขนาดนี้ได้ และเราจะสามารถเดินตามรอยเขาได้แค่ไหน
บัฟเฟตต์ภาคแรก โดย ดร. นิเวศน์ เหมวชิรวรากร
ชีวิตและการลงทุนของวอเร็น บัฟเฟตต์
ในปัจจุบันเป็นที่รับรู้กันอย่างกว้างขวาง
ทั้งในหมู่นักลงทุนและประชาชนทั่วไปในอเมริกา ในเมืองไทยเองนั้น
นักลงทุนจำนวนมากน่าจะรู้จักเขาพอสมควร
นักลงทุนหลายคนนับถือและยึดถือเขา
เป็นแบบอย่างในการลงทุน บทความเกี่ยวกับวอเร็น บัฟเฟตต์
ถูกเขียนขึ้นหลาย ๆ ครั้ง
ทั้งในคอลัมน์นี้และในที่อื่น ๆ ส่วนใหญ่แล้วพูดถึงสิ่งที่เขาทำ
ผลงาน พอร์ตโฟลิโอ
และความมั่งคั่งของเขาเมื่อเขาดังและประสบความสำเร็จ
เป็นนักลงทุนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลกแล้ว
แต่สิ่งที่น่าสนใจไม่แพ้กันสำหรับ Value Investor ทั่ว ๆ ไปนั้น
น่าจะอยู่ที่ชีวิตของบัฟเฟตต์
ในขณะที่เขายังไม่ดัง ไม่เป็นที่รู้จัก ในเวลาที่คนยังถามว่า
ใครนะวอเร็นบัฟเฟตต์ ? เพราะนี่คือ
ช่วงเวลาที่นักลงทุนควรศึกษาว่าวอเร็นบัฟเฟตต์ทำอย่างไรถึงได้
ประสบความสำเร็จขนาดนี้ได้ และเราจะสามารถเดินตามรอยเขาได้แค่ไหน
วอเร็น บัฟเฟตต์ ถูกกล่าวขวัญเป็นครั้งแรกในหนังสือชื่อ
Supermoney ซึ่งเขียนโดย
“Adam Smith” ผู้โด่งดัง หรือชื่อจริงคือ George Goodman
บทความเขียนขึ้นในช่วงประมาณปี 1970
ซึ่งเป็นเสมือนการเปิดตัวบัฟเฟตต์ในฐานะของเซียนหุ้นที่มีผลงาน
โดดเด่นโดยใช้แนวทางของ เบน เกรแฮม
ที่แปลกใหม่และไม่เหมือนใครในวงการผู้บริหารเงินมืออาชีพทั้งหลายในยุคนั้น
และต่อไปนี้คือสาระสำคัญบางส่วนที่น่าสนใจ
อดัม สมิทธ์ เล่าว่าเขารู้จักบัฟเฟตต์ เนื่องจากเบนเกรแฮม
ขอให้เขาช่วยเขียน The Intelligent Investor
ในการพิมพ์ครั้งใหม่ เกรแฮมบอกเขาว่า
มีคนเพียงสองคนที่เขาอยากให้ร่วมเขียนด้วยคือเขาและ
วอเร็น บัฟเฟตต์ นั่นทำให้อดัม สมิทธ์
งงและอยากรู้จักว่าใครคือวอเร็น บัฟเฟตต์ เพราะในขณะนั้น
ไม่มีใครในวงการหุ้นแม้แต่ตัวเขาเองที่เป็นนักเขียนเรื่องหุ้นชื่อดังรู้จักบัฟเฟตต์
เมื่อได้พบและรู้จักบัฟเฟตต์แล้ว อดัม สมิทธ์
ได้เขียนเรื่องของเขาโดยบอกว่า
สิ่งที่น่าทึ่งสำหรับ บัฟเฟตต์ นั้นก็คือ
เขาเข้าข่ายที่จะเรียกได้ว่าเป็น
นักบริหารเงินลงทุนที่โดดเด่นในยุคสมัยได้อย่างสบายมาก
แต่สิ่งที่น่าทึ่งยิ่งกว่าก็คือ
เขาทำมันได้ด้วยปรัชญาการลงทุนของอีกยุคสมัยหนึ่ง นั่นก็คือ
ในขณะที่พวกสิงห์ปืนไวในช่วงทศวรรษที่ 1960
กำลังโปรโมทกันเองในพับชื่อดังที่พวกเขาชอบพบกัน
แล้วก็กลับมาเฝ้าจอหุ้นในออฟฟิสที่นิวยอร์ค
บัฟเฟตต์ก็กำลังทำผลงานการลงทุนที่ดีที่สุด
ในวงการจากเมืองโอมาฮา รัฐเนบราสกาโดยที่ไม่มีจอดูหุ้น
ไม่มีพับชื่อดัง
ไม่มีการกัดเล็บ ไม่มียาคลายเครียด ไม่มียารักษาโรคกระเพาะ
ไม่มีเกมแบ็คแกมมอนหลังจากตลาดปิด
ไม่มีหุ้นที่ราคาวิ่งขึ้นเหมือนติดจรวด
ไม่มีหุ้นเทคโนโลยี ไม่มีหุ้นบริษัทขนาดใหญ่ ไม่มีหุ้นแบบ
“Concept Stock”
หรือหุ้นที่กำลังนิยมกันมากในช่วงนั้น มีแต่เพียง การลงทุนแบบ
เบน เกรแฮม พันธุ์แท้
ที่ถูกประยุคใช้อย่างเสมอต้นเสมอปลายสมบูรณ์แบบ
นั่นก็คือ หุ้นธรรมดา ๆ ที่เงียบเหงา เข้าใจง่าย
และมีเวลาเหลือเฟือให้กับลูก ๆ
สำหรับเกมแฮนด์บอล
และการฟังเสียงข้าวโพดที่กำลังแตกยอดในท้องทุ่ง
ก็จริง ที่บัฟเฟตต์ ไม่ได้บริหารกองทุนรวม
ดังนั้นเขาจึงไม่ต้องถูกกดดันจากเซลแมน
ที่ต้องการขายหน่วยลงทุน
ในขณะที่เขาสร้างสถิติการลงทุนด้วยปรัชญาการลงทุน
ของอีกยุคสมัยหนึ่ง หุ้นตัวที่ทำกำไรมาก ๆ
บางตัวก็เข้าข่ายเป็นหุ้นตามปรัชญาการลงทุน
แบบหุ้นโตเร็ว เขาไม่มีคณะกรรมการที่จะต้องขออนุมัติหรือรายงาน
เขาไม่มีเจ้านาย
เขาไม่ทำตัวเป็นข่าว ที่จริงสื่อเองก็ไม่สนใจเขา
ถ้าเขาซื้อหุ้นในบริษัทมากจนมีอำนาจ
ในการควบคุมเขาก็พร้อมที่จะเข้าไปคุม
ปัจจัยทั้งหมดนี้ทำให้เขามีอิสระ
และคล่องตัวจากข้อจำกัดทั้งหลาย
ห้างหุ้นส่วนของเขาเริ่มในปี 1956 ด้วยเงิน 105,000 เหรียญ
ซึ่งส่วนใหญ่มาจากลุง ป้า
และญาติคนอื่น ๆ มันปิดตัวลงในปี 1969 ด้วยการเติบโตปีละ 31%
ทบต้น เงิน 10,000 เหรียญ
ในปี 1957 จะเพิ่มขึ้นเป็น 260,000 เหรียญในช่วงเวลา 13 ปีนั้น
ห้างหุ้นส่วนกำไรทุกปีไม่มีปีไหน
ขาดทุนรวมทั้งในปีที่ตลาดหุ้นตกหนักในปี 1962 และ 1966
หุ้นส่วนทุกคนจะได้รับรายงาน
ปีละครั้งที่จะบอกถึงวัตถุประสงค์และการดำเนินงานอย่างสม่ำเสมอ
หลังจากทำสถิติการลงทุนและทำให้ทั้งหุ้นส่วนและตัวเขาค่อนข้างส
บายแล้ว บัฟเฟตต์ก็ทำ
ในสิ่งที่ผิดธรรมดาอีกครั้งหนึ่งคือ เขาเลิก ในตอนนั้นเขาอายุ 39 ปี
เขาบอกว่ามันยากขึ้นและยากขึ้นเรื่อย ๆ
ในการที่จะหาหุ้นดี ๆ และแน่นอน แรงกระตุ้นของเขาก็อ่อนลงไปมาก
จากความสำเร็จของตนเองเพราะ
ในขณะนั้นเขามีเงินถึงประมาณ 25 ล้านเหรียญและ
เขามีอย่างอื่นในชีวิตที่จะทำ และนี่คือภาคแรก
ของบัฟเฟตต์ที่เล่าโดย อดัม สมิทธ์เมื่อประมาณสามสิบปีที่แล้ว
แน่นอน หลังจากที่เลิกห้างหุ้นส่วน
และออกจากตลาดไปในช่วงที่ตลาดกำลังบูมมาก บัฟเฟตต์
ได้กลับมาอีกครั้งโดยอาศัยบริษัทเบิร์กไชร์ฮาธาเวย์
หลังจากที่ตลาดถล่มกลับลงมาแล้วและ
กลายเป็นภาคสองของบัฟเฟตต์ที่เรารู้จักกันมาก
บทเรียนบางประการสำหรับภาคแรกของบัฟเฟตต์ก็คือ
ข้อแรก ในช่วงแรกที่เม็ดเงินยังน้อยนั้น ผลตอบแทนของเขาสูงถึง
31% ในขณะที่ผลตอบแทน
โดยเฉลี่ยของเขาทั้งหมดอยู่ที่ประมาณ 25% ซึ่งแปลว่า
ช่วงที่พอร์ตยังเล็ก ผลตอบแทนจะสูงกว่า
ช่วงพอร์ตใหญ่ สอง
ในช่วงที่มีเงินน้อยนั้นเงินส่วนใหญ่ของบัฟเฟตต์มาจากการบริหารเงิน
ให้คนอื่นแล้วได้ส่วนแบ่งกำไร
ดังนั้นคนที่คิดจะเลิกจากการทำงานที่มีรายได้แน่นอนแล้วมาลงทุน
อย่างเดียว
ควรคิดให้หนัก ข้อสาม
การใช้ชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัวของบัฟเฟตต์ทั้งภาคหนึ่ง
และภาคสองดูเหมือนจะไม่เปลี่ยนแปลงแม้ว่าเม็ดเงินและชื่อเสียงข
องบัฟเฟตต์จะเพิ่มขึ้นมาก
และนี่ก็เป็นข้อสังเกตและบทเรียนเล็ก ๆ น้อย ๆ สำหรับ Value Investor
ที่กำลังเริ่มเดินทางตามผู้นำที่ยิ่งใหญ่
Supermoney ซึ่งเขียนโดย
“Adam Smith” ผู้โด่งดัง หรือชื่อจริงคือ George Goodman
บทความเขียนขึ้นในช่วงประมาณปี 1970
ซึ่งเป็นเสมือนการเปิดตัวบัฟเฟตต์ในฐานะของเซียนหุ้นที่มีผลงาน
โดดเด่นโดยใช้แนวทางของ เบน เกรแฮม
ที่แปลกใหม่และไม่เหมือนใครในวงการผู้บริหารเงินมืออาชีพทั้งหลายในยุคนั้น
และต่อไปนี้คือสาระสำคัญบางส่วนที่น่าสนใจ
อดัม สมิทธ์ เล่าว่าเขารู้จักบัฟเฟตต์ เนื่องจากเบนเกรแฮม
ขอให้เขาช่วยเขียน The Intelligent Investor
ในการพิมพ์ครั้งใหม่ เกรแฮมบอกเขาว่า
มีคนเพียงสองคนที่เขาอยากให้ร่วมเขียนด้วยคือเขาและ
วอเร็น บัฟเฟตต์ นั่นทำให้อดัม สมิทธ์
งงและอยากรู้จักว่าใครคือวอเร็น บัฟเฟตต์ เพราะในขณะนั้น
ไม่มีใครในวงการหุ้นแม้แต่ตัวเขาเองที่เป็นนักเขียนเรื่องหุ้นชื่อดังรู้จักบัฟเฟตต์
เมื่อได้พบและรู้จักบัฟเฟตต์แล้ว อดัม สมิทธ์
ได้เขียนเรื่องของเขาโดยบอกว่า
สิ่งที่น่าทึ่งสำหรับ บัฟเฟตต์ นั้นก็คือ
เขาเข้าข่ายที่จะเรียกได้ว่าเป็น
นักบริหารเงินลงทุนที่โดดเด่นในยุคสมัยได้อย่างสบายมาก
แต่สิ่งที่น่าทึ่งยิ่งกว่าก็คือ
เขาทำมันได้ด้วยปรัชญาการลงทุนของอีกยุคสมัยหนึ่ง นั่นก็คือ
ในขณะที่พวกสิงห์ปืนไวในช่วงทศวรรษที่ 1960
กำลังโปรโมทกันเองในพับชื่อดังที่พวกเขาชอบพบกัน
แล้วก็กลับมาเฝ้าจอหุ้นในออฟฟิสที่นิวยอร์ค
บัฟเฟตต์ก็กำลังทำผลงานการลงทุนที่ดีที่สุด
ในวงการจากเมืองโอมาฮา รัฐเนบราสกาโดยที่ไม่มีจอดูหุ้น
ไม่มีพับชื่อดัง
ไม่มีการกัดเล็บ ไม่มียาคลายเครียด ไม่มียารักษาโรคกระเพาะ
ไม่มีเกมแบ็คแกมมอนหลังจากตลาดปิด
ไม่มีหุ้นที่ราคาวิ่งขึ้นเหมือนติดจรวด
ไม่มีหุ้นเทคโนโลยี ไม่มีหุ้นบริษัทขนาดใหญ่ ไม่มีหุ้นแบบ
“Concept Stock”
หรือหุ้นที่กำลังนิยมกันมากในช่วงนั้น มีแต่เพียง การลงทุนแบบ
เบน เกรแฮม พันธุ์แท้
ที่ถูกประยุคใช้อย่างเสมอต้นเสมอปลายสมบูรณ์แบบ
นั่นก็คือ หุ้นธรรมดา ๆ ที่เงียบเหงา เข้าใจง่าย
และมีเวลาเหลือเฟือให้กับลูก ๆ
สำหรับเกมแฮนด์บอล
และการฟังเสียงข้าวโพดที่กำลังแตกยอดในท้องทุ่ง
ก็จริง ที่บัฟเฟตต์ ไม่ได้บริหารกองทุนรวม
ดังนั้นเขาจึงไม่ต้องถูกกดดันจากเซลแมน
ที่ต้องการขายหน่วยลงทุน
ในขณะที่เขาสร้างสถิติการลงทุนด้วยปรัชญาการลงทุน
ของอีกยุคสมัยหนึ่ง หุ้นตัวที่ทำกำไรมาก ๆ
บางตัวก็เข้าข่ายเป็นหุ้นตามปรัชญาการลงทุน
แบบหุ้นโตเร็ว เขาไม่มีคณะกรรมการที่จะต้องขออนุมัติหรือรายงาน
เขาไม่มีเจ้านาย
เขาไม่ทำตัวเป็นข่าว ที่จริงสื่อเองก็ไม่สนใจเขา
ถ้าเขาซื้อหุ้นในบริษัทมากจนมีอำนาจ
ในการควบคุมเขาก็พร้อมที่จะเข้าไปคุม
ปัจจัยทั้งหมดนี้ทำให้เขามีอิสระ
และคล่องตัวจากข้อจำกัดทั้งหลาย
ห้างหุ้นส่วนของเขาเริ่มในปี 1956 ด้วยเงิน 105,000 เหรียญ
ซึ่งส่วนใหญ่มาจากลุง ป้า
และญาติคนอื่น ๆ มันปิดตัวลงในปี 1969 ด้วยการเติบโตปีละ 31%
ทบต้น เงิน 10,000 เหรียญ
ในปี 1957 จะเพิ่มขึ้นเป็น 260,000 เหรียญในช่วงเวลา 13 ปีนั้น
ห้างหุ้นส่วนกำไรทุกปีไม่มีปีไหน
ขาดทุนรวมทั้งในปีที่ตลาดหุ้นตกหนักในปี 1962 และ 1966
หุ้นส่วนทุกคนจะได้รับรายงาน
ปีละครั้งที่จะบอกถึงวัตถุประสงค์และการดำเนินงานอย่างสม่ำเสมอ
หลังจากทำสถิติการลงทุนและทำให้ทั้งหุ้นส่วนและตัวเขาค่อนข้างส
บายแล้ว บัฟเฟตต์ก็ทำ
ในสิ่งที่ผิดธรรมดาอีกครั้งหนึ่งคือ เขาเลิก ในตอนนั้นเขาอายุ 39 ปี
เขาบอกว่ามันยากขึ้นและยากขึ้นเรื่อย ๆ
ในการที่จะหาหุ้นดี ๆ และแน่นอน แรงกระตุ้นของเขาก็อ่อนลงไปมาก
จากความสำเร็จของตนเองเพราะ
ในขณะนั้นเขามีเงินถึงประมาณ 25 ล้านเหรียญและ
เขามีอย่างอื่นในชีวิตที่จะทำ และนี่คือภาคแรก
ของบัฟเฟตต์ที่เล่าโดย อดัม สมิทธ์เมื่อประมาณสามสิบปีที่แล้ว
แน่นอน หลังจากที่เลิกห้างหุ้นส่วน
และออกจากตลาดไปในช่วงที่ตลาดกำลังบูมมาก บัฟเฟตต์
ได้กลับมาอีกครั้งโดยอาศัยบริษัทเบิร์กไชร์ฮาธาเวย์
หลังจากที่ตลาดถล่มกลับลงมาแล้วและ
กลายเป็นภาคสองของบัฟเฟตต์ที่เรารู้จักกันมาก
บทเรียนบางประการสำหรับภาคแรกของบัฟเฟตต์ก็คือ
ข้อแรก ในช่วงแรกที่เม็ดเงินยังน้อยนั้น ผลตอบแทนของเขาสูงถึง
31% ในขณะที่ผลตอบแทน
โดยเฉลี่ยของเขาทั้งหมดอยู่ที่ประมาณ 25% ซึ่งแปลว่า
ช่วงที่พอร์ตยังเล็ก ผลตอบแทนจะสูงกว่า
ช่วงพอร์ตใหญ่ สอง
ในช่วงที่มีเงินน้อยนั้นเงินส่วนใหญ่ของบัฟเฟตต์มาจากการบริหารเงิน
ให้คนอื่นแล้วได้ส่วนแบ่งกำไร
ดังนั้นคนที่คิดจะเลิกจากการทำงานที่มีรายได้แน่นอนแล้วมาลงทุน
อย่างเดียว
ควรคิดให้หนัก ข้อสาม
การใช้ชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัวของบัฟเฟตต์ทั้งภาคหนึ่ง
และภาคสองดูเหมือนจะไม่เปลี่ยนแปลงแม้ว่าเม็ดเงินและชื่อเสียงข
องบัฟเฟตต์จะเพิ่มขึ้นมาก
และนี่ก็เป็นข้อสังเกตและบทเรียนเล็ก ๆ น้อย ๆ สำหรับ Value Investor
ที่กำลังเริ่มเดินทางตามผู้นำที่ยิ่งใหญ่
ที่เป็นหลักการของผู้ที่ประสบความสำเร็จมาแล้ว
ซึ่งถ้าผู้อ่านสนใจสามารถดูข้อมูลเพิ่ม
เติมสามารถดูได้ที่ www.buffetsecrets.com
หรือหาซื้อหนังสือด้านการลงทุน
ของ วอร์เรน บัฟเฟตต์ หรือ ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร
ได้ที่ร้านหนังสือ Settrade.com ด้านหน้าอาคารตลาดหลักทรัพย์ฯ